DSM : Densri Method : EP6

DSM [16] - DSM 7 ข้อดั่งแก้วสารพัดนึก
แก้วสารพัดนึกแบ่งเป็นข้อๆ
- DSMers เป้าหมายคือ เก็บสะสมหุ้นให้ได้มาก โดยไม่ใช้เงินเพิ่ม
- DSMers ไม่สนใจว่าพอร์ตมีมูลค่าเพิ่มหรือลด
- DSMers สนใจแต่กระแสเงินสดแฝง >> กระแสเงินสดแฝง=รายได้ >> เพิ่มจำนวนหุ้น
-- การแร่งกระแสเงินสดแฝง >> โดยที่เราไม่เข้าใจ >> เป็นอันตราย
-- การใช้กระแสเงินสดแฝงในอนาคน ปลอดภัยแล้ว
-- ไม่ชำนาญพอร์ตอาจชอร์ตได้
-- จุดสำคัญของการขยายพอร์ต >> ต้องไม่เกินกระแสเงินสดชอร์ต
-- เมื่อใดที่เพิ่มเงินเพราะ กระแสเงินสดชอร์ต >> สูญเสียการควบคุมบัญชี
-- เปรียบเหมือนการลงทุนแล้ว เพิ่มเงินเข้าไปเพิ่ม
- การเข้าซื้อเป็นส่วนสำคัญ
-- การเข้าซื้ออย่างไร ล้วนเป็นการฝึกฝน ตามแนวทางของตน
-- ซื้อแล้วหุ้นลง สามารถสร้างกระแสเงินสดได้เลย
-- ซื้อแล้วหุ้นเพิ่ม >> มูลค่าเพิ่มขึ้น (อนาคตได้รับกระแสเงินสดมากขึ้น) ล้วนดีทั้งนั้น
-- อย่าลืมว่า ไม่ได้ดูที่มูลค่าพอร์ต ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร
- DSM ไม่มีวิธีที่ตายตัว เปลี่ยนแปลงได้เสมอ โดยยึดหลัก และแนวคิดเหมือนเดิม
- DSMers ต้องเตรียมตัวเตรียมใจ รับมือกับสถานการณ์หลักของหุ้น (ขาขึ้น ,ขาลง ,ไซค์เวย์)
-- คิดและปรับใช้ ให้ตรงกับการบริหารพอร์ต ตามนิสัยหุ้น และของนักลงทุนเอง

- DSM ใช้ได้ดั่งใจนึก ไม่ได้มาจากทฤษฎี หรือการคำนวณExcel ที่แน่แท้
- ต้องลงทุนตามแนวทางนี้ และเก็บข้อมูลตัวเรา และ พอร์ตของเรา + วิธีการเทรดอย่างต่อเนื่อง
- ปรับใช้ให้เหมาะสม ตามนิสัยของเราเอง

DSM [17] - Q&A DSM จากใจถึงใจ
Q : สิ่งที่สำคัญที่สุดใน DSM คืออะไร
A : แนวคิด และใจ (วิธีการมาทีหลัง พลิกแพลงได้ตลอดเวลา)
- แนวคิดที่สำคัญจริงๆ คือ ต้องการหากระแสเงินสดแฝงจากการซื้อขายหุ้นในพอร์ต
- ลงทุนเพิ่มจำนวนหุ้นในพอร์ต
- มูลค่าพอร์ตเป็นอย่างไรไม่ใช้ประเด็นหลัก
- เลือกที่จะเป็น DSMers ห้ามเดาตลาด
- DSMers แท้ต้องไม่เดาตลาด ,ไม่สนมูลค่าพอร์ต
- ถึงราคาขายตาม Step ถึงเวลาซื้อ ซื้อตามStep รในะยะยาวเห็นผลเอง

Q : ขายไปแล้ว ซื้อคืนไม่ได้ ทำอย่างไรดี
A : ทำไมถึงซื้อคืนไม่ได้ >> หุ้นขึ้นไปแล้ว
- หุ้นขึ้น >> ถึงจุดขายชอร์ตแล้ว ต้องมีช่วงห่างจากจุดขายพอควร >> ขายไปทีละ Step >>
ถ้ายังซื้อคืนไม่ได้ >> ถ้าหุ้นไปต่อ  >> ขายทีละ Step >> (เห็นไหมว่าเราขายหุ้นในขณะหุ้นขึ้น)
- การที่เราข่นหุ้นในขณะหุ้นขึ้น >> เราได้กระแสเงินสดมากกว่าตอนที่เราซื้อ
- ภาษาเกร็งกำไร เรียกว่าขายได้กำไร
- ไม่ต้องสนใจว่าซื้อคืนไม่ได้
- ถ้าหุ้นเหลือในมือประมาณ 10 - 20% แสดงว่าหุ้นขึ้นมามากแล้ว (สมมุติสูงกว่าราคาซื้อ 50 ช่อง)
- ซื้อกลับคืนไม่ได้ >> ใช้ช่องว่าง >> นำเงินที่ได้จากการขายหุ้นของกองหลัง (อีกนานจะซื้อคืนได้)
>> ไปซื้อหุ้นตัวอื่น (ซึ่งเล็งแล้วว่า ถูกกว่ากองหลังที่ขายไปแล้ว)
- ถ้าหาหุ้นที่เราจับตาดูอยู่ และอยู่ในจุด Oversold จะได้ผลดีมาก

Q : ทำไมถึงนำเงินกองหลังตรงนี้ไปซื้อหุ้นตัวอื่น
A : หุ้นขึ้นลง โดยเฉพาะหุ้นพื้นฐานดี วิ่งขึ้นลง 50 ช่อง ใช้เวลาค่อนค้างนาน
- ระหว่างนั้นถ้าไม่ทำอะไร กับกระแสเงินสดจะทำให้เสียโอกาส (มีหุ้น = สร้างรายได้)
- รายได้คือกระแสเงินสดแฝง
- นำเงินเข้าซื้อหุ้นที่เล็งไว้คือการแปลงร่าง

Q : ทำไมการนำเงินส่วนนี้เข้าซื้อหุ้นที่เล็งไว้ จะไม่ทำให้กระแสเงินสดเกิดการไม่สมดุล
A : เพราตอนเราขายหุ้นตัวแรกไป เราได้เงินสดมากกว่า ตอนที่เราซื้อมันเข้ามา
- การนำกระแสเงินสดออกมาซื้อหุ้นตัวอื่นในปริมาณที่เราสบายใจ
- กระแสเงินสดจะเกิดการชอร์ตได้น้อยมาก (เกิดการขาย)

Q : ระบบบัญชีไม่ทำได้หรือไม่ ?
A : ได้แต่เจ้งแน่นอน - ต้องทำบัญชี >> บัญชีเป็นส่วนหนึ่งของการลงทันแนวนี้ (สำคัญมาก)

Q : ทำไม่ต้องมีการแบ่งกระแสเงินสดแฝง ก่อนการขนานพอร์ต (25%ใช้สำรอง ,25%ใช้จ่าย ,50%ขยาย)
A : ป้องกันกระแสเงินสดช๊อต >> สักระยะ >> ขยายงานมากๆ และเร็วเกินไป >> กระแสเงินสดไม่พอ >>
- ต้องมีการนำเงินออกมาใช้จ่าย (25% ใช้จ่าย)

Q : ควรซื้อเพิ่มเวลาไหน ?
A : เป็นจุดสำคัญมาก ของการเพิ่มมูลค่า และปริมาณหุ้นพอร์ต
- คุณเด่นศรีบอกว่า
-- ให้ซื้อหุ้นในมือเหลือน้อยที่สุด (หุ้นที่แข็งกว่าตลาด)
-- หุ้นที่ขึ้นมากมาย (มีโอกาสลง) >> ถ้าลงมาจะมีกระแสเงินสดแฝง
มีตัวเลือกอีกวิธีหนึ่ง
-- เลือกซื้อตัวที่เข้าจุด OverSold >> หุ้นจะมีโอกาสเพิ่มมูลค่าได้มาก
-- การขยายหุ้นในพอร์ตจะช้ากว่า >> แต่ มูลค่าหุ้นจะลดลงน้อยกว่า >> เพิ่มเข้าสู่จุดคุ้มทุนเร็วกว่า

Q : ไม่ขายขาขึ้นทีละน้อยๆดีกว่า หรือไม่ขายดีกว่ากัน
A : แล้วแต่ความถนัด
- ส่วนตัวไม่ขายดีกว่า
- ถ้าขายทีละ 1 % แนะนำแบ่งเป็นอีกพอร์ตเก็งกำไรดีกว่า

Q : ไม่มีเวลาดูหุ้นทำอย่างไร ?
A : เปิดตลาดเช้า - บ่าย ดูหนึ่งรอบ ใกล้ปิดตลาดดูอีกรอบหนึ่ง (4 รอบ)
- ขายได้เท่าไหร่ขาย ซื้อได้เท่าไหร่ซื้อ
- จะได้กระแสเงินสดแฝงพอสมควร
- ต้องเลือกหุ้นที่ราคา ปิดเปิด ที่วิ่งมีความห่างพอสมควร

Q : ฉันอยากรู้ว่าฉันเหมาะกับ DSMers หรือเปล่า ?
A : ก่อนทดสอบทำดังต่อไปนี้
- อ่านหนังสือพ่อรวยสอนลูกเล่มต่างๆ >> ดูด้วยว่าเห็นด้วยกับอิสรภาพทางการเงินหรือไม่ ?
- อ่านกระทู้หลักๆ เพื่ออิสรภาพทางการเงินเสียก่อน >> ทดสอบ >> ทดลอง >> ปรับใช้ >>
ถ้ายังทำต่อ คุณก็เป็นDSMers มาครึ่งตัวแล้ว

วิธีการทดสอบคือ
- เปิด 2 พอร์ต แบ่งพอร์ตละเท่าๆกัน
-- ทดสอบพอร์ต หนึ่งเป็น DSM อีกพอร์ตหนึ่งเป็นเกร็งกำไร >> ครบหนึ่งปีสรุปผล (การเติบโต)
- ถ้าหุ้นขาขึ้น พอร์ตเกร็งกำไรอาจได้มาก >> แต่หุ้นมีรอบ (มีขึ้นมีลง) >> เราสามารถทำกำไรได้หรือเปล่า
- วิธี DSM เปรียบเหมือนการเติมน้ำแก้วหลายใบที่มีก้นเดียวกัน
-- บางใบอาจเติมมาก บางใบอาจเติมน้อย >> แต่ไหลลงที่ก้นเดียวกัน >> ปริมาณน้ำค่อยๆเพิ่ม
-- ขออย่างเดียวอย่าให้แก้งแต่ (หุ้นเจ้ง)
- วิธีการทดสอบนี้ ในระหว่างทาง >> อุปนิสัย ,การมองโลก ,การแก้ปัญหา จะเป็นตัวกำหนดทิศทางการเทรด
- คุณอาจค้นพบวิธีที่จำนำทั้ง 2 มารวมเป็นด้านเดียวกับก็ได้

DSM [18] - DSM ความเหมือนที่แตกต่าง
เปรียบเทียบ ความแตกต่างการลงทุนชนิดอื่นๆ
- ลงทุนระยะยาว (VI = Value Investor)
- ลงทุนระยะสั้น เก็งกำไร (VS = Value Speculator)
- ลงทุนวิธี DSM

- ระยะเวลาการลงทุน
-- การลงทุนระยะยาว >> ถือหุ้นยาว
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ถือหุ้นสั้น
-- การลงทุนวิธี DSM >> ถือหุ้นตลอดชีวิต

- การเลือกหุ้น
-- การลงทุนระยะยาว >> ดูพื้นฐานอย่างรอบครอบ
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ดูหุ้นที่นิยมในขณะนั้น
-- การลงทุนวิธี DSM >> เลือกหุ้นที่ชอบ และอยู่ได้นานในตลาด

- เป้าหมาย
-- การลงทุนระยะยาว >> กำไร และเงินปันผล
-- การลงทุนเก็งกำไร >> กำไร
-- การลงทุนวิธี DSM >> รายได้จากกระแสเงินสดแฝง และเงินปันผล

- เมื่อหุ้นเป็นขาลง
-- การลงทุนระยะยาว >> เพิ่มเงินลงทุน เพื่อซื้อหุ้นเพิ่ม
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ถือเงินสด รอตลาดขาขึ้น
-- การลงทุนวิธี DSM >> เพิ่มหุ้น โดยไม่เพิ่มเงิน

- เมื่อหุ้นเป็นขาขึ้น
-- การลงทุนระยะยาว >> ถือยาว รอทำกำไรตามสถาวะตลาด
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ทำกำไรเป็นรอบๆ
-- การลงทุนวิธี DSM >> เพิ่มหุ้น โดยอาศัยกระแสเงินสดแฝง และช่องว่าง

- เมื่อเกษียณ
-- การลงทุนระยะยาว >> รับเงินปันผล
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ไม่มีรายได้ เนื่องจากไม่ได้ซื้อขายหุ้น
-- การลงทุนวิธี DSM >> รับเงินปันผล

- หากหุ้นมีมูลค่า เท่ากับ0
-- การลงทุนระยะยาว >> ขายตอนปัจจัยเปลี่ยน
-- การลงทุนเก็งกำไร >> รอดตามปัจจัยเทคนิค
-- การลงทุนวิธี DSM >> แปลงร่างหุ้นเป็นหุ้นที่ดีกว่า

- หุ้นที่ถือ
-- การลงทุนระยะยาว >> ยึดติดกับหุ้นที่ได้เลือกสรร แล้ว
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ไม่ยึดติด
-- การลงทุนวิธี DSM >> ไม่ยึดติดกับหุ้นตัวใด

- ค่าคอมมิชชั่น
-- การลงทุนระยะยาว >> มาร์เก็ตติ่งไม่ชอบเพราะ ไม่ค่อยซื้อขาย
-- การลงทุนเก็งกำไร >> มาร์ ชอบตอนตลาดกระทิง(ขาขึ้น) เพราะซื้อขายบ่อย
-- การลงทุนวิธี DSM >> มาร์ ชอบตอนตลาดหมี(ขาลง) เพราะขายที่ละ 10%

- จิตใจ (ความหนักแน่น)
-- การลงทุนระยะยาว >> จิตใจต้องหนักแน่น มั่นใจสุดๆ
-- การลงทุนเก็งกำไร >> ใจเด็จ ขาดทุนคือขาดทุน
-- การลงทุนวิธี DSM >> จิตใจเยือกเย็น สุขุม ยืดหยุ่น ใจเป็นกลาง ปล่อยวาง

- วินัย
-- การลงทุนระยะยาว >> ไม่หวั่นไหว ไม่ซื้อขาย ถ้าไม่ใช้ราคาที่กำหนดไว้
-- การลงทุนเก็งกำไร >> อย่าปล่อยให้ กำไรเป็นขาดทุน
-- การลงทุนวิธี DSM >> เดินตามแผน ซื้อขายตามแผน อย่างเคร่งคัด

- เวลาที่ใช้ดูแลพอร์ต
-- การลงทุนระยะยาว >> ส่วนใหญ่หมดกับการ คัดสรรค์หุ้น
-- การลงทุนเก็งกำไร >> เฝ้าหน้าจอ action ตลอดเวลา
-- การลงทุนวิธี DSM >> เฝ้าหน้าจอ ดูเป็นระยะ สม่ำเสมอ

- เวลานอน
-- การลงทุนระยะยาว >> นอนเมื่อไหร่ก็ได้ เพราะมีแผนไว้แล้ว
-- การลงทุนเก็งกำไร >> นอนไม่หลับ กระสับกระสาย กังวลในวันพรุ้งนี้
-- การลงทุนวิธี DSM >> มีวินัย นอนเป็นเวลา >> ตลาดเปิดก็ทำตามแผน >> นอนไปยิ้มไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น