สรุปความรู้จากคลิป
Link : Behavioral Economics : https://goo.gl/NP9ftE
--------------------------------------------------------------------------------------------
Behavioral Economics (เศรษฐศาสตร์ เชิงพฤติกรรม)
- แนวคิด ของการนำเรื่องที่เกี่ยวของกับอารมณ์ จิตวิทยา พื้นหลังของคน >> ที่มีผลต่อการเชื่อมโยงกับ กระบวนการตัดสินใจ
- ส่วนมากการวิจัย จะเป็นในเรื่องของ การตัดสินใจในการซื้อของ (การตัดสินใจโดยที่มีผลกับเงิน)
- ตั้งบนสมมุติฐาน คือ ความสมบูรณ์แบบ
- เศรษฐศาสตร์ แบบเดิมตั้งอยู่บน ความสมบูรณ์แบบ ในด้านการรับรู้ การตัดสินใจ และมองเท่าเทียม
- แต่ปัจจุบันวิจัยใหม่ ตั้งบนสมมุติฐานใหม่ >> มองมนุษย์ มีอคติ มีอารมณ์ มีปัจจัยหลายๆอย่าง ต่ออการตัดสินใจ
>> และการตัดสินใจแต่ละครั้งมองในมุมของผลประโยชน์
Ex - เหตุ และผลของมนุษย์ >> เทียบระหว่างบุคคลที่การศึกษาสูง กับคนรรมดา
>> แสดงให้เห็นปัจจัยหลายๆอย่าง ที่แตกต่างมากกว่าการศึกษา (บ่งบอกว่ามันไม่มีความสมบูรณ์)
- ตลาดหุ้นหลายๆ คนมองว่ามีประสิทธิภาพ
-- เราเชื่อว่าทุกคน มีความเหตุผล >> ความเป็นจริง >> การตัดสินใจของมนุษย์ มีปัจจัยหลายอย่าง (อารมณ์ ความรู้สึก)
-- หลายคนมองเห็นช่องโหว่จากตรงนี้ >> นำมาสร้างธรุกิจ
- ตลาดหุ้น หรือเก็งกำไร เรามักมองว่ามันมีประสิทธิภาพ มองว่ามีความเป็นเหตุเป็นผล
--
Ex ถนน มีป้ายจำกัดความเร็ว ทั้งๆที่เราไม่ค่อยสนใจ แต่ๆๆ
>> เห็นป้ายลดความเร็ว 60 >> เรารีบเราก็ไม่สนใจ >> ขับเร็วเกินกำหนด
>> เห็นป้ายลดความเร็ว 60 >> เปรียบเหมือนการเตือน >> มันมีมากกว่ากฏหมาย >> อุบัติเหตุ เสียชีวิต
>> เราไม่ค่อยสนใจเพราะว่า มันเป็นผลเชิงลบ
- ถ้ามีป้าย + ตำรวจ >> จะมีเหตุผลมากขึ้น >> เราจะกลัวเสียค่าปรับ มากกว่าการที่เราจะเกิดอุบัติเหตุ
- มนุษย์มี ขีดจำกัดในการรับรู้ข้อมูล
-- ถ้าเราอยู่ในสภาวะที่เราไม่ปกติ (มีอารมณ์)
-- กระบวนการเหล่านี้ จะเข้ามา แทรกในการตัดสินใจ
--- สถาณการณ์ไม่ปกติ
---- อารมณ์ บีบคั้น กดดัน
---- เวลา จำกัด (ตัดสินใจไม่ทัน) >> ราคาเปลี่ยนแปลงไป
---- ผลประโยชน์ >> กำไรขาดทุน >> Ex เทรด Demo ไม่มีผลต่อการกำไรขาดทุน
--- การชี้นำ หรือการโน้มน้าว
---- เกิดจากสิ่งกระตุ้น >> Ex สื่อ กูรู ข่าว บทวิเคราะห์
---- สังคม บุคคล >> บุคคลที่ 3 >> เกิดการคล้อยตาม
Ex ขาดทุน คนเดียว >> ทุกข์หนัก ,ขาดทุนหลายคน ทุกข์เบา >> ละเลยความทุกข์ >> โทษคนอื่น
การตัดสินใจด้วยตรรกะ (มนุษย์ ต้องมีเหตุผล)
- ตรรกะ บางครั้งถูกครอบคลอง ครอบงำได้เหมือนกัน >> มนุษย์มักยึดติดกับตัวเลขมาก
>> ตัวเลขส่งผลถึงการเปรียบเทียบ >> ทำให้รู้สึกร่วมได้ง่าย (จับต้องได้)
Ex หมูกระทะ ราคาติดหน้าร้าน เป็น
Set A 500 บาท ฟรีอาหารกลางวัน
Set B 800 บาท ฟรีมื้อเย็น
Set C 1000 บาท ฟรีทั้งวัน
>> มันก่อให้เราเกิดการเปรียบเทียบ >> คนส่วนใหญ่เลือก C เพราะสามารถกินได้ทั้งวัน
>> ถ้าเรามาคิดจริงๆ (คุ่มค่า) ประโยชน์สูงสุด >> อาจจะไม่ใช่การชำระที่ 1000 บาท เพราะ
>> เราอาจไม่ได้ชอบ ไม่มีเวลากินทั้ง 3 มื้อ >> ความเป็นจริง เราไม่จำเป็นต้องเลือก C เสมอไป
>> เราควรเลือกอะไรที่ คุ้มค่ากับเรามากกว่า (ต้องดูว่าอะไรที่เหมาะสมกับเรา หรือไม่)
* การตัดสินใจของเราความจริง เราไม่ควรเอาแต่ตัวเลขมาตัดสินใจ เราควรใช้หลายๆปัจจัยมาช่วย
- ขีดจำกัดในการควบคุม อารมณ์ ตัวเอง
-- ส่วนใหญ่ถูกอิงพื้นฐาน มาตราฐานในหลายๆด้าน
-- การศึกษา ,ฐานนะทางสังคม ,สติปัญญา
- แต่ละคนมีการควบคุม และอารมณ์ แตกต่างกัน >> เป็น Skill
Ex การขับรถ >> ป๊าด ,เบรคกระทันหัน
- ความสามารถ >> ในการควบคุม >> เป็นความสามารถที่ทุกคนต้องฝึก >> Bias >> การตัดสินใจ
- การตอบสนองต่อารมณ์ >> พฤติกรรม >> พฤติกรรมที่เกิดขึ้นซ้ำๆ จะเกิดเป็น นิสัย
- ในโลกความจริง
- ถ้าเราควบคุมอารมณ์ได้
- เราจะเกิดความสามารถในด้านต่างๆ มาก (ได้เปรียบคนอื่น)
Ex ช่วงเวลาดึกๆ ห้าง (ไกล้เวลาปิด) >> เกิดการลดราคา >> เกิดความไม่เป็นเหตุเป็นผล เร่งให้เราตัดสินใจ >> บางทีซื้อมาไม่รู้ว่าซื้อมาทำไม
- ใช่ ช่วงเวลาในการบีบ
- ไม่เกี่ยวกับวุฒิการศึกษา เพราะการสนองต่อารมณ์ สามารถเกิดได้ทุกคน
>> มันขึ้นอยู่กับ Skill ของแต่ละคน
- In The Zone
- ไม่เครียดเกินไป ไม่เคร่งเกินไป
- การตอบสนอง แบบมีสติจะเกิดขึ้น >> ตนองในทางที่ดี
- พฤติกรรมทางสังคม
-- เลือกกลุ่มเพื่อน ,เลือกสังคม (มนุษย์เป็นสัตว์สังคม) >> มนุษย์ต้องการการยอมรับทางสังคม
--- อยู่กับเพื่อนที่ช่วยกันเราได้
--- อยู่กับเพื่อนที่ไม่ดี อยู่คนเดียวดีกว่า
-- ตัดสินใจ >> ภาวะทางสังคม >> ชักจูง
--- บางทีอาจไม่ดีกับตัวเรา
Ex เพื่อนในกลุ่ม ใช้ Iphone กันหมด บางครั้งเราไม่สามารถไช้มือถือ จีนแดงได้
- การตัดสินใจ ถ้าอยากจะไห้ดี ต้องตัดสินใจที่เหมาะกับตัวเราได้
- เราไม่สามารถที่จะ ตัดสินใจบางอย่าง แล้วให้ทุกคนพึงพอใจได้
- การตัดสินใจเราต้องตัดสินใจ ให้เราได้ผลประโยชน์มากที่สุด
- แนวคิด จำนวนมาก ตัดสินใจจากผลประโยชน์สูงสุดของตัวเรา
--------------------------------------------------------------------------------------------
จิตวิทยาว่าด้วยการขาดทุน :
Link : https://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0001-cway.html
รูปแบบความผิดพลาด :
Link : http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0002-cway.html
อารมณ์ และการตัดสินสินใจ
Link : http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0003-cway.html
Bias
Link : http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0004-cway-bias.html
Over Confidence ,DisPosition Effect ,Endowment effect
Link : http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0005-cway-over-confidence-disposition.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น