Stock : กองทุนรวม :EP4

กองทุนรวม (Mutual Fund)
- เป็นการระดมเงินรายย่อย เข้ามาบริหาร โดยผู้เชี่ยวชาญ
- ผู้ลงทุนได้รับ หน่วยลงทุน (Unit Trust) หลักฐานยืนยันการเป็นเจ้าของ

ผลตอบแทนจากกองทุน
- ส่วนแบ่งจากเงินปันผล (Dividend)
-- เฉพาะบางกองทุนที่มีนโยบายการจ่ายเงินปันผล
- กำไรส่วนต่างราคา
-- กองทุนซื้อหุ้นราคาถูก ขายราคาแพง
- ผลตอบแทนของผู้ถือหน่วยลงทุนคือ รายรับจาก กองทุน

ข้อดี
- มีผู้บริหารมืออาชีพดูแลเงินแทน
- มีการกระจายความเสี่ยง โดยการลงทุนในหุ้นต่างๆ
- มีอำนาจต่อรองเพราะกองทุนมีขนาดใหญ่
- เหมาะสำหรับมือใหม่

ประเภทของกองทุน
- กองทุนเปิด
-- สามารถซื้อขายหน่วยลงทุนเพิ่มเติม ต่อเนื่องได้หลังมีการเสนอขายครั้งแรกแล้ว
-- สามารถรับซื้อหน่วยลงทุนคืนทุกเมื่อ
-- มักมีการกำหนดเวลาในการซื้อขาย ล่วงหน้า
-- มีสภาพคล่องสูง
- กองทุนปิด
-- มีกำหนดอายุ โครงการแน่นอนชัดเจน
-- มีการซื้อหน่วยลงทุนเพียงครั้งเดียว คือตอนเริ่ม
-- ขายคืนเมื่อครบอายุโครงการเท่านั้น

แบ่งกองทุนรวมเป็น 10 ประเภท
1.) กองทุนรวมตลาดเงิน (Money Market Fund)
-- ลงทุนในเงินฝาก และตราสารหนี้ที่มีกำหนดชำระเงินต้นเมื่อทวงถาม
-- การลงทุนระยะสั่น นักลงทุนไม่ต้องการความเสี่ยง
2.) กองทุนรวมตราสารหนี้ (General Fixed Income Fund)
-- ลงทุนในเงินฝาก และตราสารหนี้ประเภทต่างๆ
Ex พันธบัตรรัฐบาล ,พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ ,ตั๋วการเงิน ,ตั๋วสัญญาเงิน
-- ผู้ลงทุนยอมรับความเสี่ยงได้น้อย
3.) กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาว (Long-Term Fixed-Income Fund)
-- ลงทุนในเงินฝาก และตราสารหนี้ที่มีอายุถือครอง มากกว่า 1 ปี
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงต่ำ และลงทุนระยะยาว
4.) กองทุนรวมตราสารหนี้ระยะสั้น (Short-Term Fixed-Income Fund)
-- ลงทุนในเงินฝาก และตราสารหนี้ที่มีอายุถือครองไม่เกิน 1 ปี
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงต่ำ และลงทุนระยะสั้น
5.) กองทุนรวมผสม (Balanced Fund)
-- ลงทุนในหลักทรัพย์ หรือทรัพย์สินประเภทต่างๆได้ทุกประเภท
Ex เงินฝาก ตราสารทุน ตราสารหนี้
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงปานกลาง
6.) กองทุนรวมผสมยืดหยุ่น (Flexible Portfolio Fund)
-- ลงทุนได้คล้าย กองทุนรวมผสม (Balanced Fund)
-- ต่างกันที่สัดส่วนการลงทุน
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงปานกลาง
7.) กองทุนรวมหน่วยลงทุน (Fund of Funds)
-- ลงทุนในหน่วยลงทุน และใบสำคัญแสดงสิทธิ์ หน่วยลงทุน
-- อาจมีเงินบางส่วนลงทุน เงินฝาก ตราสารทุน ตราสารหนี้
8.) กองทุนรวมตราสารทุน (Equity Fund)
-- ลงทุนในตราสารทุนประเภทต่าง
Ex หุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ Warrant
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงสูง
9.) กองทุนรวมใบสำคัญแสดงสิทธิ์ (Warrant Fund)
-- ลงทุนใน Warrant ,หุ้นกู้ ,หน่วยลงทุน ,หุ้นเพิ่มทุน
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงสูงมาก
10.) กองทุนรวมกลุ่มธุรกิจ (Sector Fund)
-- ลงทุนในตราสารทุนของบริษัท ที่มีธุรกิจหลักประเภทเดียวกัน
Ex กลุ่มธนาคาร ,กลุ่มสือสาร
-- ข้อเสียคือ ลงทุนแบบกระจุกตัว
-- เหมาะสำหรับผู้มียอมรับความเสียงสูงกว่ากองทุนรวมทั่วไป

กองทุนรวมพิเศษ
1.) กองทุนรวมคุ้มครองเงินต้น (Prianiple or Capital Protection Fund)
- กองทุนรวมลงทุนใน พันธบัตรรัฐบาล ,ตราสารหนี้ เพื่อรักษาเงินต้น
- ผู้ลงทุนได้รับผลตอบแทนไม่ต่ำกว่าเงินลงทุนเบื้องต้น
- ใช้เทคนิคการลงทุน 2 แบบ
-- Passive - 90% ลงทุนในสิ่งที่มีความเสี่ยงต่ำ
-- Active - ลงทุนในตราสารทุนเพิ่ม ลดการถือคลองพันธบัตร
- มีความเสี่ยงต่ำ - ผู้ลงทุนไม่ชอบความเสี่ยง
2.) กองทุนรวมแบบมีประกัน (Guarantee Fund)
- กองทุนรับประกัน >> ถ้าครบกำหนด ได้รับผลตอบแทนไม่ตรง >> จ่ายเงินลงทุน + ผล คืน
- จ่ายคืนเป็นบางส่วนหรือทั้งหมดก็ได้
- รับประกันเงินลงทุน ตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้
3.) กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund : LTF)
- ลงทุนในหุ้นสามัญ
- จุดประสงค์ ส่งเสริมการลงทุนระยะยาวในตลาดหุ้น
- มีภาษีเป็นสิ่งจูงใจ
-- เงินลงทุนนำมาลดหย่อนภาษีได้ ถ้าไม่เกิน 500,000 บาท
-- กำไรจากการขายคืน ได้รับการยกเว้นภาษี
เงื่อนไขการลงทุน LTF
- ต้องซื้อหรือ ถือ ไม่น้อยกว่า 5 ปี
- ถ้าขายคืนก่อนโดนภาษี
4.) กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund : RMF)
- จุดประสงค์ ส่งเสริมการออมเงินระยะยาว สำหรับจ่ายช่วงเกษียณ
- คล้ายกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ,บำเหน็จ บำนาญ
- ได้รับสิทธิเรื่องภาษี
-- เงินลงทุนนำมาลดหย่อนภาษีได้ ถ้าไม่เกิน 500,000 บาท
-- กำไรจากการขายคืน ได้รับการยกเว้นภาษี
เงื่อนไขการลงทุน RMF
- ลงทุนสม่ำเสมออย่างน้อยปีละครั้ง
- ไม่ระงับการซื้อขายหน่วยลงทุนเกิน 1 ปี
- ลงทุนขั้นต่ำ 3% ของเงินได้ หรือ 5,000 บาท/ปี
- การขายคืน ต้องมีอายุมากกว่า 55 ปี และ ถือขั้นต่ำ 5 ปี
- หากผิดเงื่อนไขโดนภาษี
5.) กองทุนรวมที่ลงทุนในต่างประเทศ (Foreign Investment Fund : FIF)
- ลงทุนในหลักทรัพย์ต่างประเทศ 80% ของมูลค่าทรัพย์สินกองทุน
- อาจมีการจ่ายปันผลหรือไม่จ่ายก็ได้
- เปิดโอกาสให้สามารถลงทุนในต่างประเทศ โดยมืออาชีพ
- อาจมีความเสี่ยงในด้านอัตราการแลกเปลี่ยน
แบ่งออกเป็น 2 แบบหลักๆ
1. แบบ บลจ. บริหารกองทุนเอง
- นำเงินไปลงทุนโดยตรงในหลักทรัพย์หรือสินค้าในต่างประเทศ
Ex กองทุนรวม FIF ลงทุนในพันธบัตรเกาหลีใต้
2. แบบ บลจ. ซื้อกองทุนรวมที่บริหารจัดการโดยกองทุนต่างประเทศ
- มีการกระจายความเสี่ยง
สามารถลงทุนได้ 2 วิธีคือ
2.1 ลงทุนเพียงกองเดียว (Feeder Fund)
2.2 ลงทุนในกองทุนรวมต่างประเทศ (Fund Of Funds)
- ซื้อกองทุนรวมในต่างประเทศหลายๆกอง
6.) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ (Property Fund)
- ลงทุน ในการลงทุนซื้อหรือ เช่าอสังหาริมทรัพย์
- ไม่มีจุดมุ่งหมายในการลงทุน อสังหาริมทรัพย์ เพื่อพัฒนาหรือ ขายต่อ
- อสังหาริมทรัพย์ต้องอยู่ภายในประเทศ
- ผู้ลงทุนได้เงินในรูปแบบ เงินปันผล
แบ่งออกเป็น 2 แบบ
- Freehold
-- นำรายได้จากการเช่ามาจ่ายปันผล
-- มีสิทธิ์เต็มในอสังหาริมทรัพย์ที่ลงทุน
-- เมื่อยกเลิกกองทุนสามารถขายอสังหาริมทรัพย์ เฉลี่ยคืนผู้ลงทุน
- Leasehold
-- ลงทุนโดยการเช่า
-- ไม่มีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์
-- นำอสังหาริมทรัพย์ ไปทำสัญญาเช่ากับเจ้าของ
-- เมื่อครบสัญญาต้องคืน
-- ตอนเลิกกองทุนมูลค่าสิทธิ์การเช่ากลายเป็น 0

หลักการพิจารณาเลือกกองทุนรวม
- ทำความเข้าใจกองทุน และเลือกประเภทที่เหมาะสม
- วิเคราะห์ผลตอบแทนจากอดีต หากองทุนรวมที่ผลตอบแทนสม่ำเสมอ
- พิจารณาสภาพคล่องการซื้อขาย
- พิจารณา อายุกองทุนรวม ให้ตรงกับความต้องการเงินในอนาคต
- ระวังเรื่องขนาดของสินทรัพย์ กองทุน
- พิจารณาคุณภาพ และความสามารถการบริหารของผู้จัดการกองทุน
- เลือกกองทุนรวมที่มีการกระจาย เพื่อลดความเสี่ยง

เทคนิคการลงทุนในกองทุนรวม
- อ่านหนังสือชี้ชวนให้ละเอียด
-- นโยบายการลงทุนสอดคล้องกับความต้องการหรือไม่ ?
-- ผลตอบแทน ความเสี่ยง สิทธิ์ประโยชน์ทานภาษี
- ไม่ให้น้ำหนักกับผลการดำเนินในอดีตมากเกินไป
- เลือกกองทุนที่เหมาะกับสไตล์ตัวเอง
- เลือกกองทุนรวมที่ เรามีความชำนาญ
- เลือกกองทุนรวมที่ผลตอบแทนดีกว่าระดับมาตราฐานเป็นเวลานาน
- เลือกกองทุนรวมที่มีค่าใช้จ่ายต่ำ
- เลือกกองทุนรวมที่มีบริการครบวงจร
- พิจารณาเพื่อหาเวลาเหมาะสมในการซื้อขาย
- พิจารณาแนวโน้มดอกเบี้ยในอนาคต
Ex ดอกเบี้ยแนวโน้มลดลง >> เลือกกองทุนรวมตราสารหนี้ระยะยาว >> ล๊อกดอกเบี้ย

---------------------------------------------------------------------
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
- นายจ้าง ลูกจ้าง ตั้งขึ้นโดยสัญญาใจ
- เป็นสวัสดิการรูปแบบหนึ่งของนายจ้างแก่ลูกจ้าง
- ได้รับสิทธิ์ประโยชน์ทางภาษี
- เพื่อให้มีเงินออมยามเกษียณ ออกจากงาน
- สะสมได้ตั้งแต่ 2 - 15% ของเงินเดือน
Ex เราออมเงิน 10% นายจ้างจะสมทบอีก 10%
- นำเงินไปลงทุน
- เงินลงทุนที่ได้ นำมาจ่าย เรียกว่า ผลประโยชน์ของเงินสะสม
ได้รับเงินกองทุนเมื่อไหร่
- ออกจากงาน ,เกษียณอายุ ,เสียชีวิต
- ได้รับเงินสะสมทั้งหมด แต่เงินสมทบเป็นไปตามเงื่อนไข


---------------------------------------------------------------------
กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน
- Infrastructure Fund : IFF
- ระดมทุนเพื่อระดมทุนในโครงสร้างพื้นฐาน
- ช่วยลดภาระทางด้านงบประมาณ และก่อหนี้สาธารณะของรัฐ
- ได้รับผลตอบแทนจาก กิจการที่ลงทุน จ่ายแก่ผู้ลงทุน
- ภาครัฐ : มีข้อจำกัดด้านงบประมาณ และก่อหนี้สาธารณะ ประเทศต้องการพัฒนาอีกมาก
- ผู้ลงทุน : โอกาศการลงทุน ,ได้รับการยดเว้นภาษี 10 ปี

ลักษณะทั่วไปของกองทุน
- ชื่อของกองทุนต้องมีคำว่า "กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน"
- ทุนจดทะเบียนขั่นต่ำ "2,000 ล้านบาท"


สามารถอ่านบทความเกี่ยวกับกองทุนรวมที่
Link : https://www.set.or.th/set/article.do?subtopicId=39&topicId=37&language=th&country=TH

Stock : คำสั่งเปิด Order :EP3


Limit Price Order
- การตั้งสัญญาซื้อขาย ล่วงหน้า
- ตั้งราคาซื้อ ที่ต่ำกว่าราคาปัจจุบัน
- ตั้งราคาขาย ที่สูงกว่าปัจจุบัน


ATO (At the Open) / ATC (At the Close)
- ATO คำสั่งซื้อขาย เมื่อผู้ลงทุนต้องการ หลักทรัพย์ทันทีที่เปิดตลาด ณ ราคาเปิด
-- สามารถส่งคำสั่งซื่อขาย เฉพาะช่วงก่อนตลาดเปิด (Pre Open)
- ATC คำสั่งซื้อขาย เมื่อผู้ลงทุนต้องการ หลักทรัพย์ทันทีที่เปิดตลาด ณ ราคาปิด
-- สามารถส่งคำสั่งซื่อขาย เฉพาะช่วงก่อนตลาดปิด (Pre Close)
- คำสั่ง ที่ไม่ได้รับการจับคู่จะถูกยกเลิก
- เป็นชุดคำสั่งที่อยู่ลำดับก่อน Limit Price Order

Published
- การซ่ิอน Order
- ส่งในช่วง Pre Open ,Pre Close ไม่ได้
- คำสั่งโดนยกเลิกทันทีหลังตลาดปิด
Ex หุ้นทั้งหมดมี 100,000 หุ้น ขายทีละ 10,000 หุ้น
- เพื่อป้องกันคนอื่นแซงคิว

Special Market Order (MP)
- กวาดซื้อ ไล่ราคาหมด
- จับคู่ด้านตรงข้าม กับราคาปัจจุบัน
- หากจับไม่หมด ระบบส่งใหม่ราคาที่ดีกว่า (Last Price 1 Spread)

Market Order (MP-MKT)
- กวาดซื้อ ถ้าไม่มีคนขาย Order ที่เหลือ Cancel
- คำสั่งซื้อขาย ณ ราคาตลาดทันที
-- ซื้อ ณ ราคาเสนอขายต่ำสุด
-- ขาย ณ ราคาซื้อสูงสุด
- ถ้าไม่สามารถ ซื้อหรือขายได้ทั้งหมด ระบบ จะยกเลิกจำนวนหลักทรัพย์ที่เหลือ อัตโนมัติ

Market to limit order (MP-MTL)
- ซื้อที่ราคาเดียว ถ้าหุ้นไม่พอ ระบบตั้งราคารอ
- จับคู่ตรงข้ามที่ราคาดีที่สุด
- หากจับไม่หมด ระบบจะ ตั้งราคารอที่ Last Price

#เทคนิค ATO / ATC
จาก Link : https://pantip.com/topic/30706321

- ATO มี 2 รอบ 10.00น , 14.30น
- ATC มีรอบเดียว 16.30 น.

- ATC เป็นช่วงที่ คนหวังว่าจะได้ราคา สูงหรือต่ำกว่าราคาปัจจุบันเล็กน้อย
-- ปัจจุบัน ราคา 5 บาท หลังปิดตลาดอาจจะขายได้ที่ ราคา 5.05 บาท
-- แต่ขายที่ ราคา 4.95 บาท ก็ไม่เป็นไร
-- ถ้าจะทำแบบข้างต้น ให้ตั้งราคาต่ำกว่านั้น 1 ช่อง (4.90 บาท)
-- ถ้าราคาปิดสูงกว่านี้ ก็จะขายที่ราคานั้นได้ทันที
ประโยชน์คือ
- ลดความเสี่ยงจากการปิดราคาที่ผิดเพี้ยน
Ex ถ้าตั้งที่ 4.90 บาท >> ราคาตกลงมาถึง Floor ณ เวลาตลาดปิด 4.00 บาท
- สิ่งที่เกิดคือ เราจะขายที่ราคา 4.00 บาททันที (ถ้าตั้งราคา 5.00 บาท)
- ถ้าตั้งที่ราคา 4.90 บาท หุ้นจะไม่ Match
- เพราะราคาปิด 4.00 ต่ำกว่าราคาที่ตั้งไว้ 4.90 บาท

- คนที่ตั้งซื้อ ATC (ภาวนาให้ราคาโดดลง)
- ให้ตั้งราคาสูงกว่าที่คิด 2 - 3 ช่อง
- แม้ตั้งราคา 5.10 บาท แต่ราคาลงเหลือ 4.95 บาท เราก็ได้ราคา 4.95 บาท
- การตั้งราคาแบบ นี้จะทำให้เราไม่ได้หุ้นแพงกว่า 5.10

- เป็นเทคนิคที่ใช้เวลา เก็บหุ้นก่อนราคาปิด
- ราคาก่อนปิด 5.00 บาท ตั้ง ATC ที่ราคา 5.10 บาท อาจได้หุ้นที่ราคา 4.90 บาท

(ป้องกันการซื้อ ขาย ATC แบบวัดดวง)

Stock : ETF :EP2

ETF ?
- "Exchange Traded Fund"
-- กองทุนเปิดดัชนีที่จดทะเบียน

- ซื้อขายแบบ Real Time
- กระจายความเสี่ยง
-- ลงทุนไปยังหลักทรัพย์หลายตัว
-- ลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคา หุ้น
- ต้นทุนน้อย
-- มีค่าใช้จ่าย ตลอดจนค่าธรรมเนียมต่ำ
- อ้างอิงผลตอบแทน ตามดัชนี
-- ไม่มีการบริหารจัดการเชิงรุก เพื่อเอาชนะตลาด เหมือนกองทุนส่วนใหญ่
- มีผู้ดูแลสภาพคล่อง
-- บริหารโดย บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม
-- ราคาเคลื่อนไหวไปตามมูลค่าแท้จริง
- มีความโปร่งใส
-- แจ้งสัดส่วนการลงทุน

ผลตอบแทนการลงทุน
- กำไรจากส่วนต่างราคา
- เงินปันผล

ความเสี่ยง
- ความเสี่ยงด้านราคา
-- เกิดจากการปรับตัวตลาด (ราคา)
- ไม่สามารถให้ผลตอบแทนได้ตามดัชนี อาจเนื่องจากค่าใช้จ่ายกองทุน
- ความเสี่ยงด้านการแลกเปลี่ยน

#Tdex  [ThaiDex Set50 Exchange Traded Fund] คือ ?
- กองทุน ETF หุ้น (Equity) ตัวแรกของประเทศไทย ผลตอบแทนใกล้เคียง SET50
- การลงทุนใน Tdex เสมือนการซื้อหุ้นใน Set 50 Index พร้อมกัน
- กองทุนรวม อีทีเอฟ ,มีการจ่ายเงินปันผล
จุดเด่นของกองทุน Tdex
- สร้างพอร์ตด้วยหุ้นขนาดใหญ่ 50 หลักทรัพย์ในดัชนี Set50 อย่างสะดวก
- กระจายความเสี่ยงไปใน หุ้น 50 หลักทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพ
- Tdex เครื่องมือการลงทุนที่มีต้นทุนการซื้อขายไม่สูง

Stock : Market Cap :EP1

สรุปความรู้เรื่อง Market Cap
อ้างอิง 1 : http://www.setmonitor.com/@ittikorns/4E041E
อ้างอิง 2 : http://inform-invest.blogspot.com/2014/04/market-capitalization.html
อ้างอิง 3 : http://www.thaivi.org/ประเมินมูลค่าหุ้นด้วย-market-cap/

Market Cap
- Market Capitalization ขนาดมูลค่าตามราคาตลาด
- ภาพใหญ่ของบริษัท ที่ตลาดหุ้นมอบให้
- ถ้าเราอยากเป็นเจ้าของบริษัทนี้คนเดียว ต้องจ่ายเงินเท่าไหร่
- เปรียบเหมือนตัวแทน แสดงความยิ่งใหญ่ ของกิจการในสายตานักลงทุน
Ex ในสมัยก่อนหุ้นกลุ่ม Bank Market สูง >> ปัจจุบันมีการเปลี่ยนตามยุคสมัย

การคำนวณมูลค่าตลาด หรือ Market Cap
-  Market Cap = ราคาหุ้น x จำนวนหุ้นจดทะเบียน

ความสำคัญ
- นักลงทุนมักเข้าใจผิดว่า หุ้นที่มีราคาสูง จะมีมูลค่าบริษัทใหญ่กว่าหุ้นที่มีราคาหุ้นต่ำ
- การแบ่ง ประเภทของบริษัท แสดงศักยภาพ หรือความเสี่ยงแต่ละบริษัทได้
-- บริษัทขนาดเล็ก เติบโตเร็ว แต่ความเสี่ยงเยอะตาม
- สามารถนำไปวิเคราะห์ร่วมกับตัวเลข หรือนำไปเป็นเครื่องชี้วัดทาง เศรษกิจได้

ประเภทมูลค่าตลาด
- Mega Cap หุ้นที่มีมูลค่าหลักทรัพย์สูงกว่า  สองแสนล้าน (ส่วนใหญ่เป็นผู้นำอุตสาหกรรม)
- Large Cap หุ้นที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ หนึ่งหมื่นล้าน ถึง สองแสนล้าน
-- โดยทั่วไปหุ้นในกลุ่มนี้มีความมั่นคงสูง
- Mid Cap หุ้นที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ สองพันล้าน ถึง หนึ่งหมื่นล้าน
-- เป็นหุ้นกลุ่ม Growth stock บริษัทที่มีการเติบโตสูง
- Small Cap หุ้นที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ สามร้อยล้าน ถึง สองพันล้าน
-- เป็นหุ้นที่มีการเติบโตแบบรวดเร็ว แต่มีความเสียงตามมา
- Micro Cap หุ้นที่มีมูลค่าหลักทรัพย์ ต่ำกว่า สามร้อยล้าน
-- เป็นหุ้นที่มีความเสียงสูง

วิธีเช็ค Market Cap
- กดลิ้ง : http://siamchart.com/stock/
- คลิกที่ MCap (M) บนหัวตาราง

MudleyGroup : ระบบทุนนิยม : EP1

สรุปการเรียนรู้ในแต่ละวัน
Link Youtube : https://www.youtube.com/watch?v=o4Hg7g5X2oQ

เป็นการพูดถึงเรื่อง ระบบทุนนิยม (เกมส์ชีวิต) 

- เป็นระบบ Productivity ยกตัวอย่างคือการทำงาน แล้วได้เงิน
- Money เป็นตัวกลาง ทำให้จ่าย เวลาชีวิตได้ง่ายขึ้น (เวลาชีวิตของเรา>>เงิน)
- นายทุนสร้าง รสนิยม เช่น Slow life(นายทุนผลักดันเพื่อไม่ให้มีคู่แข่ง)
Ex นายทุนสร้างผู้นำแฟชั่น เพื่อ Steal Productivity ของเรา
- สิ่งที่ต้องยอมรับ อายุมากขึ้นร่างกายต้องเสื่อม ถ้าอยากรักษาดี ต้องจ่าย(เงิน)แพงขึ้น
- ฐานของค่าใช้จ่ายมันสูง มันเติมโตแบบ Exponential Function
- ระบบทุนนิยาคือ ระบบต้อง Steal Productivity กัน
Ex ขายคอมพิวเตอร์ แล้วนำกำไร(ชีวิต) มาจ่ายให้คนในบริษัท
- มนุษย์ทุกคนมี Productivity และสามารถเปลี่ยนเป็น Asset ได้
- คนมีทุนเยอะ สามารถ Steal ของคนมีทุนน้อยได้ง่าย (จ่ายค่าแรงขั้นต่ำ)
- เงิน เข้ามาแทรก การใช้ Crditชีวิตง่าย  (ใช้จ่ายง่าย) รางวัลชีวิตจ่ายด้วยชีวิต
Ex กระเป๋าบางใบสามารถ แลกชีวิตได้เป็นปี ถ้า Happy 10 ปีก็ Ok
- สิ่งที่ต้องยอมรับ Productivity ของเรามีแต่เสื่อมถอยลง อายุ 25 แรงต่างจาก อายุ 30
- ความจริงมันเจ็บปวด ที่พูดเล่นเพื่อปลอบใจเพราะมันทำให้สบายใจ
- ถ้า Steal Productivity ตามเป้าหมาย(อนาคต)ที่ต้องการได้ คือ อิสภาพ
- อย่าเป็นทาสของระบบตอนอายุเยอะ เพราะมันโหดร้าย(เมื่อถึงเวลามันย้อนกลับไม่ได้)

การสร้าง Productivity
- ต้องมีประสบการณ์ จะทำให้ เรามีทักษะสามารถ Steal Productivity เรื่อยๆ
และสูษเสีย Productivity ได้ยาก
Ex ไม่เสียรู้ Productivity โดน Steal ได้ยาก
- ทักษะเป็น Exponential Function

จบ..