Poker Learning : ประเภทนัก Poker : EP2

สรุปความรู้ จากการดูคลิป
Link : https://www.youtube.com/watch?v=c8W7Jh2fRW8

♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ 
- เป็นคนถามใน Inbox
- เป็นการแบ่งคนแต่ละประเภทใน Poker (ตาม Style ของแต่ละคน)
- เอาเราเข้าไปใส่ในประเภทนั้น >> ถ้าเรารู้ว่าเราอยู่ในกลุ่มไหน >> เราจะพัฒนาตนเองได้

มีทั้งหมด 6 ประเภท
- Nit > Super Tight
-- ไม่ยอมเล่น Hand น้อย
-- ไม่ได้กลัว แต่คิดถึงผลกำไร
-- บางจังหวะที่เสี่ยง เขาไม่เสี่ยง
-- ใช้สมองเพื่อเรียนรู้อยู่
-- เป็นพวกจ่ายเงินให้เว็ปไซค์ ต่างๆ เพื่อพัฒนาตนเอง
-- ส่วนมาก ศึกษา 70% เล่น 30 %
--- บางคนสามารถที่จะ หมอบเป็น 20 - 30 ตาได้
"IF I DON'T HAVE A NUTS THEN I WON'T GO ALL-IN. SIMPLE"

- TAG > Tight Aggressive
-- เหมือนกับ Nit
-- ไม่ชอบที่จะ Call เน้น Bet หรือ rise มากกว่า >> พยายามทำให้รุนแรง >> ไม่ค่อยตั้งรับ
-- มีการเลือกไพ่อย่างระมัดระวัง
-- เลือกไพ่น้อย แต่เล่นแรง
-- คิดถึง Profit หาวิธีเรียนรู้ตัวเองไปเรื่อยๆ

- LAG > Loose Aggressive
-- หลายๆคนบอกเป็นประเภทที่ดีที่สุดในการเล่น Poker
-- เล่น Hand เยอะ ต่อสู้เยอะ
-- พยายามที่จะให้คู่ต่อสู้คิด และลำบากเสมอ
-- ไม่ยอมที่จะยอมแพ้งง่าย >> พยายามที่จะชนะ
-- มีการเรียนรู้ และฝึกฝนตัวเองตลอด

- Weak Tight > Tight Passive
-- คล้ายๆพวก Nit
-- แต่จะเล่น แบบ Call ไป ไม่กล้าเล่น กลัว Hand ที่ใหญ่
-- เกิดความสับสนในตนเอง
-- มักจบด้วยการยอมแพ้เสมอ
-- เป็นประเภทที่ Bluff ง่าย

- Fish > Loose Passive
-- บางคนเป็นคนที่เล่น Poker ไม่เก่ง แต่อาจบริหารดี >> เก่งในชีวิตนอก
-- เล่นไพ่ เยอะเกิน ไม่เลือกไพ่ เล่นหยุดบนกระดานบ่อย (Call แล้วหยุด)

- Donkey
-- เล่นแบบ มั่วซั่ว แจก Chip
-- ถ้าเราลงไป เล่นกับคนพวกนี้เราควรได้กำไร

* 3 ประเภท บนจะมีการเรียนรู้ 3 ประเภทล่างจะไม่ยอมเรียนรู้ และเชื่อว่าตัวเองถูกแล้ว

♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ ♠ ♦  ♥ 

KZM : Killer Zone Model : EP10 [Portfolio P/L]

การใช้ Portfolio P/L เป็น Indicator

- เป็น Indicator ที่ไม่ต้องพึ้งกราฟ สามารถเทรดหุ้นได้ทุกที่ที่มี Internet

ท้าวความ TA
- Technical ส่วนมากอาศัย การคำนวณ และประมวลจากข้อมูลราคาเป็นหลักส่วนมาก
- คนที่เทรด Technical จะสร้างโมเดลสำหรับการ ซื้อขาย
-- เขียวเข้า แดงออก
-- ตัดขึ้นซื้อ ตัดลงขาย
- Technical จะส่งสัญญาณซื้อเมื่อราคาขึ้นระดับหนึ่ง และส่งสัญญาณขายเมื่อราคาลงถึงระดับหนึ่ง
- Technical ทั่วไปจะส่งสัญญาณ ซื้อขายที่ ขึ้นหรือลง 1 % (ตัวอย่าง)

Start
- ซอย Positions ออกเป็นส่วนย่อย กองละ 100 หุ้น
- สมมุติ เริ่มซื้อหุ้นที่ราคา 100 บาท
-- ราคาหุ้นขึ้นไป 101 บาท ซื้อเข้า 1ไม้ (100 หุ้น)
-- ราคาหุ้นขึ้นไป 102 บาท ซื้อเข้า 1ไม้ (100 หุ้น) >> เรียกว่า Technical Position
>> ดูเป็น Indicator ในแต่ละระดับราคาเฉยๆ
- ถ้าไม้แรก และไม้ที่สองเขียว เราจะซื้อ หนักขึ้นเรื่อยๆ >> เรียกว่า Follow Position
- ถ้าขึ้นต่อไปเรื่อยๆ จะใช้ส่วน 100 หุ้น ซื้อไปเรื่อยๆ
- จนกว่าจะเกิด P/L สีแดงที่ไม้รองสุดท้าย เราจะขาย Follow Position ที่ซื้อมา
ตามกรณีไม้แรกเขียวออกไป
- ถ้าไม้ถัดมาแดงอีกเราก็จะขายในส่วน Follow Positions ไม้ที่สองในตอนแรกออกไป

- หากเกิด เทรนขาขึ้น เราสามารถถือ Position ใหญ่ๆ ได้ยาว
- หากราคาลงไปเรื่อยๆ เราก็ทยอยซื้อสัญญาณทาง Technical ไปเรื่อยๆ ทีละ 100 หุ้น
>> จนกว่ามันจะเขียวเราก็ซื้อได้อีก
- เมื่อเรารวมกับเทคนิคการบริหารเงินเข้าไปด้วย จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารพอร์ตได้อย่างดี

- เมื่อเราเชี่ยวชาญ เราสามารถประยุกต์ใช้ถึงขั้น จดตัวเลขกำไร ขนาดทุนของพอร์ต มาเป็น Indicator
ซึ่งตัวเลขกำไรยังวิ่งต่อไป เราก็ถือ Position ไปเรื่อยๆ จนกว่าตัวเลขกำไรจะวกกลับมายังเลข
ที่เราบันทึกไว้ในใจ เราก็เริ่มลด Position เป็นต้น

-----------------------------------------------------------------------
อ้างอิง :
Link 1 : http://mudleygroup.blogspot.com/2011/01/portfolio-pl-indicator-technical.html

Stock : Dilution Effect ? : EP14

Dilution Effect ?
- หุ้นขึ้นเครื่องหมาย XR (เพิ่มทุน) จะ Dilute ทั้งหมด 4 ช่วง
# ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเจ้ามือด้วย

- เจ้ามือต้องการเงินจากผู้ถือหุ้น >> อยู่ๆประกาศเพิ่มทุน >> คงไม่มีใครยอมจ่าย
>> เพราะไม่รู้ว่าเขาเอาเงินเพิ่มทุนไปทำอะไร ?
แผนเจ้ามือ
- ถ้าหุ้นตัวไหนที่จะเพิ่มทุน มีสภาพคล่องเยอะ >> ถ้าเจ้าลากคนเดียวจะเหนื่อย
>> เจ้าจะตั้ง Bid เยอะๆ หลอก >> เพื่อให้คนโยนเงินลงในฝั่ง Offer
- หรืออาจลากตอนแรกๆ >> ต่อจากนั้นให้คนอื่นดัน >> ให้หุ้นติด Cash Balance
>> เจ้าที่มีเงินเหลือ สามารถทำ New High ได้ง่าย
# หุ้นที่ติด Cash Balance จะติดเครื่องหมาย TS , CA หลังหุ้น

ยกตัวอย่างอย่าง
วันที่ 1 / 1 / 1000
- หุ้น A ราคาอยู่ที่ 3 บาท

วันที่ 5 / 1 / 1000
- เจ้าลากหุ้น A ราคาไปที่ 10 บาท
- พร้อมกับประกาศว่าจะมีมติให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิ์เพิ่มทุน ในวันที่ 10 / 1 / 1000 (วันที่ขึ้นเครื่องหมาย XR)
- มีสิทธิ์เพิ่มทุนอัตรา 3 หุ้นเก่า : 1 หุ้นใหม่ ในราคา 2 บาท / หุ้น
- จ่ายตังวันที่ 15 - 20 / 1 /1000

Dilute ช่วงแรก
วันที่ 6 / 1 / 1000
- เจ้าทุบเหลือ 3 บาท (ราคาเพิ่มทุน 2 บาท)
- เจ้าจะพยายามพยุงราคาให้สูงกว่าเพิ่มทุน >> ให้รายย่อยมั่นใจว่า หลังเพิ่มทุนราคาไม่ต่ำกว่า 2 บาท
- คนที่ติดอยู่ที่ 10 บาท ให้ตัดสินใจว่าจะขาย หรือเพิ่มทุน ถ้าไม่เพิ่มก็ เสียสิทธิ์

Dilute ช่วงที่ 2
วันที่ 10 / 1 / 1000 (วันที่ขึ้นเครื่องหมาย XR)
- ก่อนหน้านั้น ประมาณ 5 วัน จะมีการ Dilute เพราะคนเทขาย รวมถึงเจ้าด้วย >> เพื่อยอมเพิ่มทุน
- ส่วนมากจะไม่มีโอกาศขาย เหมือนยอมให้เพิ่มทุน
- ถ้าถือถึงวันที่ ขึ้นเครื่องหมาย XR >> จะมีสิทธิ์เพิ่มทุน
- คนเพิ่มทุนมี 2 แบบ
-- คนทุนต่ำ เพิ่มทุนเพื่อให้ปริมาณเพิ่มขึ้น
-- คนติดดอย เพื่อให้ได้ถั่วเฉลี่ย

Dilute ช่วงที่ 3
- เครื่องหมาย XR จะขึ้นอาทิตย์หนึ่ง >> หุ้นจะทรงตัวนิ่งๆ
- จ่ายตังเพิ่มทุนวันที่ 15 - 20 / 1 /1000 >> เจ้าลากก่อนจ่ายตัง >> เพื่อให้มั่นใจว่าราคากระดาน
>> ไม่ต่ำกว่าราคาเพิ่มทุน
- จะมีคนติดดอย หรือทุนต่ำ ช่วงนี้จะขายหุ้น เพื่อนำไปเงินไปจ่ายสำหรับเพิ่มทุน
- อัตรา 3 หุ้นเก่า : 1 หุ้นใหม่ ต้องขายออก 1 ส่วนจาก 3 ส่วน
- ราคาจะ Dilute ช่วงจ่ายตังเพิ่มทุน ในกรณีไม่มีตัง หรือทุนต่ำ

Dilute ช่วงที่ 4
- วันที่จ่ายตังเพิ่มทุน ,หุ้นเข้าพอร์ต >> ราคาหุ้นจะ Dilute
- เพราะคนดอยสูงจะโดนลาก >> คนทุนต่ำ ได้เพิ่มทุนถั่วต่ำ >> เทขายทำกำไร
- ส่วนใหญ่จะ 4 -5 สัปดาห์ หลังจ่ายตัง

สรุป Dilute มี 4 ช่วง
- ช่วงที่ 1  >> คณะกรรมการมีมติประกาศ มีสิทธิ์เพิ่มทุน
- ช่วงที่ 2 >> ก่อนวันขึ้น XR >> เจ้าทุบเพื่อให้ยอมจ่ายตังเพิ่มทุน
- ช่วงที่ 3 >> วันที่จ่ายตังเพิ่มทุน >> เจ้าพยุงราคา >> คนเทขายเอาตังเพิ่มทุน
- ช่วงที่ 4 >> วันที่คนจ่ายตังเพิ่มทุน >> รายย่อยเทขายทำกำไร
* ทุกอย่างไม่แน่นอนเสมอไป >> ทุกอย่างขึ้นอยู่กับเจ้ามือล้วนๆ

-----------------------------------------------------------------------------
- หุ้นขึ้นเครื่องหมาย XD หรือ SD (ช่วงปันผล)ช่วงที่ Dilution Effect

- Dilute ช่วงวันที่ขึ้นเครื่องหมาย หลังจากวันนั้น (ใครถือถึงวันขึ้น XD จะมีสิทธิ์ได้รับปันผล)

- วันนั้น หุ้นแต่ละหุ้นจะมีมูลค่าลดลง >> เนื่องจากกำไรของ "ทั้งบริษัท" เท่าเดิม
>> แต่ปริมาณหุ้นในตลาดมีมากขึ้น >> ส่งผลให้ กำไรต่อหุ้น ลดต่ำลง
- เนื่องจากมีตัวหารมากขึ้น
- กำไรต่อหุ้น "Earnings per Share (EPS)"

Ex - สมมุติบริษัทกำไร 1,400 ล้านบาท
- มีหุ้นอยู่ในตลาด 700 ล้านหุ้น กำไรหารจำนวนหุ้น (1,400 / 700 = 2) : EPS = 2
- ต่อมาเมื่อ เมื่อจ่ายปันเป็นหุ้นในอัตรา 7 : 1 หุ้น
- ในตลาดเพิ่มขึ้นเป็น 800 ล้านหุ้น EPS ลดลง (1400 / 800 = 1.75)
- ตามตรรกะ >> หุ้นจะลดลงตามสัดส่วน

- การจ่ายเงินปันผล ระหว่าง "เงินสด" กับ "หุ้น" ไม่เหมือนกัน
- การจ่านเงินเป็น เงินสด ได้รับเงินจริงๆ ไม่เสียอะไร
- การจ่ายเงินเป็น หุ้น จะเป็นการ ลดทอนมูลค่า ของหุ้นในมือ
-- ผู้ถือหุ้นทุกคนได้รับแจกหุ้นในจำนวนเท่าๆกัน

วัตถุประสงค์ของ บริษัทที่จ่ายปันผลเป็นหุ้น
- ต้องการเก็บเงินสดไว้ขยายกิจการ >> แต่ต้องการจ่ายปันผลให้ผู้ถือหุ้น
- รักษาระดับราคาหุ้นไว้ในตลาด ไม่ให้นักลงทุนผิดหวัง

-----------------------------------------------------------------------------
- หุ้นวอแรนส์ วันที่ใช้สิทธิ์ซื้อหุ้นแม่จะขึ้น XW (หุ้นที่มี -w ห้อยหลัง)

- ถ้าจะซื้อให้ดูวันใช้สิทธิ์ (จากข่าวใน www.set.or.th ในเอกสาร)
- หากถึงวันที่เราต้องไปใช้สิทธิ์ซื้อ ราคาอาจมากกว่าหุ้นแม่ก็ได้
- ควรดูวันหมดอายุ ยิ่งใกล้วันหมดอายุคนยิ่งขาย
- หากหมดอายุจะกลายเป็นไม่มีค่าทันที

- ช่วง Dilute จะอยุ่ในช่วงใช้สิทธิ์
- ยิ่งใกล้ใช้สิทธิ์ 1 เดือน ต่อให้หุ้นแม่วิ่ง ตัวลูกก็นิ่ง >> เพราะไม่มีใครอยากใช้สิทธิ์
- ควรหลีกเลี่ยงก่อนวันหมดอายุ 1 ปี ยิ่งดี

-----------------------------------------------------------------------------
สรุป
- ไม่ว่าจะช่วงไหน XR , XD ,XW >> ควรเลือกหุ้นตามสภาพคล่อง
- สภาพคล่องที่มากเกินไปจะนำไปสู่ Price Dilution ตาม (หุ้นจะลงแรง)
- เป็นภาระผู้ถือหุ้นที่ต้องนำเงินมาจ่ายบริษัท
>> บริษัทต้องวางแผนเพิ่มสภาพคล่องโดยคำนึงถึงราคา และปริมาณหุ้น

-----------------------------------------------------------------------------

อ้างอิง
Link : https://pantip.com/topic/32394189

Stock : หุ้นติด Cash Balance ? : EP13

หุ้นติด Cash Balance ?
- Cash >> เงินสด
- Balance >> สมดุล

- เป็นการลดความเสี่ยงในการลงทุนโดย >> ให้ใช้เงินสดในการซื้อขาย
- คนที่เปิดพอร์ต Cash Balance ซื้อขายได้ปกติ
- เกิดจากหุ้นมีการซื้อขายผิดปกติ
- หุ้นที่ติด Cash Balance จะขึ้นเครื่องหมาย TS หรือ CA หลังหุ้น
- หุ้นที่ติด ส่วนมากปริมาณการซื้อขาย จะน้อยลงค่อนข้างมาก
- หุ้นที่ติด Cash Balance ส่วนใหญ่วันแรกๆ จะขายเยอะ >> คนกลัวกันไปเอง
- หายนะของเจ้ามือที่ทุนน้อย แต่ถ้าเจ้าทุนหนามองเป็นโอกาส
- หุ้นบางตัวตั้งใจให้ติด (ออกมาแล้วก็เข้าอีก)

เกรณ์ในการตัดสอนให้หุ้น ติด Cash Balance หลักๆ
- หุ้นที่ซื้อขาย 5 วันเกิน 500 ล้านบาท/สัปดาห์ หรือวันละ 100 ล้านบาท
- หุ้นที่ผลประกอบการ 4 ไตรมาสสุดท้าย PE มากกว่าหรือ เท่ากับ 50 เท่า
# ถ้าเข้าข่าย 2 ข้อนี้ จะติด Cash Balance เป็นเวลา 3 สัปดาห์ หรือ6 สัปดาห์ แล้วแต่ ตลท. จะอนุมัติ

Cash Balance แบ่งเป็น 2 ช่วง
- Cash Balance ช่วงขาขึ้น = เจ้าทำ New High
- Cash Balance ช่วงขาลง = เจ้าทำ New Low

ข้อดี
- ปริมาณการซื้อขายน้อย >> เจ้าสามารถลากทำราคาได้ง่าย
- อาจมีการปล่อยข่าวลือ >> เพื่อเก็บของถูก >> หรือเจ้าดันราคาสูงง่าย

ข้อเสีย
- ความน่ากลัวคือ ราคาอาจถูกวางหมาก >> วางแผนไว้ (ตั้งใจให้ติด Cash Balance)
- หากเข้าผิดจังหวะ อาจโดนเจ้าคิดล่วงหน้าก่อนหนึ่งก้าว >> หากผิดจังหวะ >> เสียทันที

---------------------------------------------
อ้างอิง
Link 1 : https://pantip.com/topic/32404765
Link 2 : https://pantip.com/topic/32370928
Link 3 : https://pantip.com/topic/30155192
Link 4 : https://pantip.com/topic/30586741

DSM : Densri Method : EP15 [แผนครั้งที่ 3]

อัพเดทแผนการลงทุน DSM  ครั้งที่ 3



-----------------------------------------------------------------

- สามารถซื้อกองกำลังได้ตามจำนวนหุ้น 5000 , 10,000 , .. , 40,000
- กองกำลังทั้งหมด 100 %
- แบ่งเป็นกองหน้า 70 % และกองหลัง 30%
-- ซื้อหน่วยรบครั้งแรก แค่กองหน้าเท่านั้น (70%)
-- กองหลัง (30%) ทิ้งไว้เป็นแนวรับ

กองหลัง (30%)
- กองหลังสำรองทิ้งไว้เป็นแนวรับ รอรับ 30 % ที่เหลือ (ป้องกันความเสี่ยงเวลาหุ้นลง)
- เมือรับครบ กองกำลังทั้งหมด 100%
- สลายตัว 10% ของกองกำลัง เมื่อโดนโจมตี 2 ช่อง
- รวมกองกำลังใหม่เมื่อครบ 5 ช่อง

กองกลาง
- เริ่มโจมตีหลังจากกองหลัง ดันขึ้นหน้าได้ 2 ช่อง
- โจมตีทุกช่องช่องละ 2 % หรือ โจมตี 2 ช่อง 4 %
- หากโดนตีกลับ รอรับคืน 5 ช่อง

กองหน้า
- โจมตีไปเรื่อยๆ ทุกๆช่อง 2 % หรือ โจมตี 2 ช่อง 4 %
- โดนโจมตีกลับ รับคืน 5 ช่อง
- เมื่อกองหน้าโจมตีหมด ให้ซื้อกองกำลังใหม่อีกครั้ง ในจำนวนเท่าครั้งแรก

- กองกำลังที่สลายตัวแล้ว รอรวม >> เปลี่ยนสนามรบ เมื่อกองหน้าโจมตีครบ 20 ช่อง
- สะสมกองกำลังสำรอง โจมตีในสนามรบใหม่

-----------------------------------------------------------------