- ช่องว่างของตลาดหุ้น
-- ให้ให้ถูกจังหวะ
-- ควบคุมการใช้ช่องว่างด้วยระบบบัญชี
- หุ้นสมดุลช่องว่าง >> ช่องว่างสมดุลด้วย >> ระบบบัญชี
- การแปลงร่าง >> จะแปลงไปเป็นหุ้นกลุ่มใดก็ได้
-- ขอเพียงให้มีราคาต่ำว่า และอยู่ในช่วง Spread หุ้นเดียวกัน
- เงินที่เหลือจากการแปลงร่าง >> ให้ถือเป็นกระแสเงินสดแฝง >> แต่เป็นกระแสเงินสดแฝงเทียม >>
ไม่ควรแปลงร่างมากไป โดยไม่จำเป็น
- การแปลงร่างใช้กับหุ้นขาขึ้นเท่านั้น
- หุ้นขาลงจะไม่แปลงร่าง (ยกเว้นกรณีเปลี่ยนตัว เพราะต้องไล่หุ้นเดิมออกจาก พอร์ต)
- ปกติ จะใช้การแปลงร่างเมื่อ หุ้นเหลือในมือแค่ 10-20%
- การแปลงร่าง มี 2 แบบ
-- แปลงร่างเป็นตัวมันเอง (ที่เหลือน้อย)
-- แปลงร่างเป็นหุ้นตัวอื่น >> หุ้นตัวอื่นแปลงร่างเป็นตัวมันเอง
- กางแปลงร่าง อย่างสมดุลซึ่งกัน และกัน
- การแปลงร่าง >> ไม่ใช้การเปลี่ยนตัวหุ้น
- การแปลงร่าง >> การขยายการลงทุนในจังหวะที่ต้องขยาย
Ex การแปลงจากหุ้น A >> B (ต้องดูแลทั้ง A,B) >> จะไม่ทิ้ง >> เมื่อมีจังหวะเก็บหุ้น A คืนได้ >>
ควรเก็บกลับคืนมา >> ทำให่พอร์ทของเราขยายหย่างเหมาะสม
- ไม่แนะนำให้ แปลงร่าง บ่อยเกินไป
- ทุกครั้งที่แปลงร่าง ต้องมีเหตุผล
- อย่าเห็นกระแสเงินสดแฝงเทียมเพียงอย่างเดียว
- การจะซื้อหุ้นตัวเดิมในราคาที่แพง โดยอาศัยกระแสเงินสดแฝง
--ซื้อเมื่อหุ้นตัวเดิมเป็นขาขึ้น >> และเหลือหุ้นในมือเพียง 10 - 20% (จากปริมาณเริ่มต้นมา) >>
หากซื้อแล้วขึ้นต่อ >> ทรัพย์สินจะมีมูลค่าสูงด้วย >> เหลืออีก 10 - 20% ก็ซื้อเพื่มอีก
-- เมื่อซื้อหุ้นตัวเดิมแล้วเป็นขาลง >> ทยอยเก็บคืนที่ขายไป >> การทำอย่างนี้ไม่มีผลต่อที่เหลือในพอร์ท
>> เพราะควบคุมได้ >>ถ้าสะดุดยังมีเงินสำรองหนี้(เงินที่ได้ดึงต้นทุนมาแล้ว)
- จากนั้นทำตามขั้นตอน ตามแผนซื้อ และขาย จะได้กระแสเงินสดแฝง
- กระแสเงินสดแฝง จะโป๊ะ กับหนี้ได้เองอัตโนมัติ
- ระบบบัญชีจะต้องรัดกุม >> ควบคุมการขยายของพอร์ท อย่างมีจังหวะ
ช่วง Spread แต่ละช่างราคาของหุ้น
- การแปลงร่าง หุ้นที่ขายไม่สามารถซื้อกับได้ >>ราคาก็ขึ้นไปสูงมาพอสมควร >>
ไม่สามรถซื้อกลับได้ ในระยะเวลาอันใกล้
Ex หุ้น A ราคา 9.20บาท จำนวน 1,000 หุ้น >> หุ้น B ราคา 8.20บาท 1000 หุ้น >>
ได้กระแสเงินสดแฝง 1,000 บาท (ยังไม่ได้หักค่าคอมมิชชั่น) เป็นกระแสเงินสดแฝงเทียม
- การลงทุนหุ้นแบบ DSM สามารถลงทุนแบบ โน๊ตดนตรี (ติดตามบทที่ 30) >>
สามารถได้รับกระแสเงินสดที่แท้จริง >> ไม่เหมือนกับ วิธีแปลงร่างได้กระแสเงินสดแฝงเทียม
DSM [14] - หุ้นขึ้นได้หุ้น หุ้นลงได้เงิน
- ลงทุนด้วยวิธี DSM >> จะได้ยินคำกล่าวที่ว่า >> สามารถลงทุนได้ทั้ง ขาขึ้นและขาลง >>
หุ้นขึ้นได้เงิน หุ้นลงได้หุ้น >> เป็นคำกล่าวที่เสี่ยงมาก >> จริงๆต้องเป็น >>
"หุ้นขึ้นได้หุ้น หุ้นลงได้เงิน"
หุ้นขึ้นได้หุ้น หุ้นลงได้เงิน ?
- เปรียบการลงทุนหุ้นเหมือน การทำกิจการให้เช่าหุ้น
- กิจการที่ทำอยู่กำลังดี กำลังเติมโต ต้องเพิ่มการลงทุน ,ขยายกิจการออกไป
- กิจการก้ำกึ่งระหว่าง ดีหรือไม่ดี ไม่ควรเพิ่มการลงทุนห หรือขยายกิจการ
แยกระหว่าง "ซื้อหุ้นคืน" กับ "ซื้อหุ้นเพิ่ม"(เงินจากกระแสเงินสดแฝง)
- หุ้นเป็นขาลงเริ่มแดง ขายออกทุก 2 ช่อง ช่องละ 10% ไปเรื่อยๆ >>
จนกว่าหุ้นเริ่มขึ้นจากจุดต่ำสุดมา 4 ช่อง >> ค่อยเข้าซื้อ อันนี้หมายถึง "ซื้อหุ้นคืน"
- "ซื้อหุ้นเพิ่ม" การเอากระแสเงินสดแฝงมาซื้อหุ้นเพิ่ม >> ซื้อหุ้นตัวที่เหลือน้อย >> หุ้นตัวนี้ขายดี
>> หุ้นขึ้น >> เปรียบเป็นกิจการที่ดี กำลังเจริญ >> ต้องมีการขยายงาน >> ถึงเริ่มมีการ "ซื้อหุ้นเพิ่ม"
>> จากเงินกระแสเงินสดแฝง
- การซื้อหุ้นเพิ่ม ต้องซื้อหุ้นอย่างน้อย 1,000 หุ้น หรืออย่างน้อย 200,000 บาท
- ซื้อแล้วสามารถทำงาน ใช้ทำงานได้ทันทีจากหุ้นตัวนั้น
- ถ้าต้องการซื้อหุ้นเพิ่ม >> โดยที่ยังไม่ได้เหลือหุ้น 10 - 20% จากของเดิมตัวนั้นๆ >>
กลัวเสียโอกาส ในการเพิ่มหุ้นกลับ
- เมื่อไหร่ ถึงจะ "ซื้อหุ้นเพิ่ม" ที่ใช้เงินจากกระแสเงินสดแฝงซื้อ >> ต้องสร้างหลักการในการซื้อหุ้นเพิ่ม
การสร้างหลักการในการซื้อหุ้นเพิ่ม
- นักลงทุนแต่ละท่านอาจไม่เหมือนกัน (แล้วแต่ความถนัดของแต่ละคน)
Ex หุ้น A ราคาตอนซื้อที่ 10 บาท เมื่อหุ้นลง 10.00 > 9.90 > 9.80 >..>8.90 >>7.00 ราคาเริ่มนิ่ง
มีแรงซื้อกลับ 4 ช่อง (7.20บาท) >>ซื้อหุ้นคืนทั้งหมด "เรียกซื้อหุ้นคืน" เงินที่ได้เป็นกระแสเงินสดแฝง
>> ถ้าต้องการซื้อหุ้นตัวเดิมเพิ่ม >> จะซื้อตรงไหน ? ให้แน่ใจว่าหุ้นขึ้นจริงๆ >>
ตั้งจุดซื้อหุ้นตัวใหม่อีก 5 ,10 ,15(ที่ราคา 7.95) ช่อง >> เพื่อให้แน่ใจว่าหุ้นขึ้นจริงๆ
- ในการลงทุนด้วยวิธี DSM ลงเงินก้อนแรกไป ไม่ควรเพิ่มเงินลงทุนในพอร์ท
- เหมือนเราทำกิจการอะไรสักอย่าง ยังไม่รู้ว่ากิจการจะดีหรือเปล่า (รอดหรือเปล่า)
- เมื่อใดที่กิจการไปได้ดี มีผลตอบแทนดี สามารถเพิ่มการลงทุน หรือขยายกิจการได้
- การลงทุนด้วยวิธี DSM เหมือนการลงทุนทั่วไป ไม่มีข้อห้ามเพิ่มทุน แต่ เพิ่มทุนเพราะอะไร ? >>
เพิ่มเพราะกิจการ DSM ทำยอดตามเป้าได้ แบบนี้ควรเพิ่ม
- ถ้าลงทุนเพิ่มเพื่ออุดปัญหา แบบนี้ไม่ควรเพิ่ม
*ลงทุนเพิ่มในกิจการที่กำลังเจริญเติบโต เพื่อขยายกิจการ
DSM [15] - สิ่งที่ควรคิด เมื่อรักจะเป็น DSMers
นักลงทุนด้วยวิธี DSM ที่จะเรียกตัวเองว่าเป็น DSMers
1.) DSMers ต้องมีเป้าหมายชีวิต
-- ความฝันของเราคืออะไร >> มันเกี่ยวกับการลงทุนแบบไหน
-- ตั้งเป้าหมายให้ใหญ่ >> หาเป้าหมายระหว่างความฝัน กับการลงทุน
2.) ศึกษา DSM ให้ถ่วงแท้
-- ค่อยๆปรับใช้จนลงตัว
-- กำหนดให้เป็นแผน >> นำไปสู้เป้าหมายในชีวิต
-- DSM เป็นเพียงวิธีหนึ่งของการลงทุน
-- การลงทุนที่แท้จริงคือ แผนการที่จะนำไปสู่เป้าหมานชีวิตอย่างเป็น รูปธรรม
3.) ใช้เงินทำงานให้เรา ไม่ใช่ใช้ตัวเราทำงานเพื่อเงิน
-- DSM ตัวเงินไม่ใช้สิ่งที่สนใจ >> มองรายได้ที่เกิดขึ้น >> มองจำนวนหุ้นที่มากขึ้น
-- ควรมีการหักค่าบริหารพอร์ต >> เพื่อเป็นกำลังใจ
-- กำไรไม่มช้สิ่งที่เราสนใจ >> หารายได้จากพอร์ตการลงทุนของเรา
- เงินค่าของมันเป็นเพียงสื่อกลาง แลกเปลี่ยนสินค้า
- เงินผลิตตัวมันเองไม่ได้
- สิ่งที่ผลิตเงิน >> พอร์ตของเราต่างหาก
- กระแสเงินสดแฝงที่เกิดขึ้น ควรนำมาขยายพอร์ต
- หลักหักค่ายริหารพอร์ต >> ควรนำมาขยายหลักทรัพย์ >> วันหนึ่งจะกลายเป็นสินทรัพย์ถาวร
4.) สิ่งที่สำคัญ DSMers คือเวลา เพราะเป็นทรัพย์สินที่มีค่า และสำคัญมาก
-- ในหนึ่งวัน เรามีเวลา 24 ชั่วโมงเท่ากัน >> แต่ละคนใช้ไม่เท่ากันไม่เหมือนกัน
-- จะมีสิ่งที่เราทำได้ และทำไม่ได้ในบางช่วงชีวิต >> ถ้าเราไม่ทำสิ่งนั้น เราจะไม่ได้ทำสิ่งนั้นอีกเลย
-- แบ่งเวลาแต่ละช่วงในสมดุล
-- ใช้เวลาให้มีค่ามากที่สุด ต่อตนเอง และคนที่คุณรัก
*การลงทุน คือส่วนหนึ่งของชีวิต ไม่ใช่ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต
5.) ค้นหาอิสรภาพทางใจให้พบ
-- ระหว่างที่เราเหนื่อยล้า สับสน กับความผิดพลาดที่เกิดขึ้น >> ในความผิดพลาดมีโอกาสเสมอ
-- เหรียญมี 2 ด้าน คนซื้อ ก็ต้องมีคนขาย
-- สิ่งที่ฉุดรั่งเราที่จะเดินต่อคือ ไม่ยอมแพ้ >> จิตใจตนเอง
-- ต้องค้นพบให้ได้ว่า ใจเราต้องการอะไร >> ถ้าทำได้ เราจะมีความสุข
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น