Options : Long Future ,Short Future : EP8

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37854309
11/7/2018 - Long Future
Long Future (LF)
- การเทรดมุมมอง เป็นขาขึ้น
- เปรียบเหมือนการเดิมพันว่าต้องขึ้น
- ถ้ากราฟขึ้นจะชนะ ถ้ากราฟลงจะแพ้
- กำไรขาดทุนไม่จำกัด (จนกว่าจะหมดอายุ)

กำไร
- กำไรไม่จำกัด (ถ้ากราฟขึ้น (จุดละ 200)) [จนกว่าสัญญาจะหมดอายุ]
ขาดทุน
- จะขาดทุนไม่จำกัด (ถ้ากราฟลง (จุดละ 200)) [จนกว่าสัญญาจะหมดอายุ]

กราฟกำไร/ขาดทุน (Profit / Loss หรือ Payoff graph)
- เป็นกราฟแสดงกำไร ขาดทุน ณ วันหมดอายุ
- แกน Y กำไร / ขาดทุน คิดเป็นจุด (จุดละ 200 บาท)
- แกน X เป็นดัชนี Set50
สามารถทำกราฟตัวอย่างได้จาก http://hehew.net/


ลักษณะกราฟเป็นกราฟเส้นตรงเฉียงขึ้นไปทางขวา
ความชัน Slope = 1 [ขึ้นคงที่ ลงคงที = กำไร / ขาดทุน เท่ากันตลอด] 

Ex Long S50U18  ที่ ดัชนีSET50 = 1000
จากกราฟแสดงให้ทราบว่า
ณ วันหมดอายุสัญญา Future
- จุดที่แกน X ตัด แกน Y เรียกว่าจุดเท่าทุน จะเท่ากับจุดที่ Long Future = 1000
- ถ้าดัชนี SET50 < 1000 จะเริ่มขาดทุนไปเรื่อยๆจนกว่าจะหมดสัญญา
-- เหมือนเดิมพันว่ากราฟขึ้น แต่กราฟลง = แพ้
- ถ้าดัชนี SET50 > 1000 จะกำไรไปเรื่อยจนกว่าจะหมดสัญญา
-- เหมือนเดิมพันว่ากราฟขึ้น และกราฟขึ้น = ชนะ

-----------------------------------------------
ความคิดเห็นที่ 4
Q : ถ้าจะลงทุน SET50 Options ควรลงทุนที่ Series ไหน ที่ ITM ATM OTM
Ex ตอนนี้ S50U18 อยู่แถว 1075 ถ้าจะ Long Long ตัวไหน
ITM 1000 , 1025 , 1050 , ATM 1075 , OTM 1100 , 1125 , 1150 , 1175

A1 : - ถ้ายอมรับการขาดทุนต้นทุน Long ได้หมด >> ต้องถือ Long ไปจนหมดอายุ
>> อยู่ที่เราคาดเดาตลาดด้วยว่า ตอน U18 หมดอายุไปแถวๆไหน
- หรือต้องคำนวณด้วยว่าต้นทุนที่เสียค่า Premium ที่ยอมเสียมีมากน้อยเพียงไหน
-- ถ้าคาดว่าดัชนี จะขึ้นลงได้ไกล และเงินทุนไม่เยอะ ก็ Long otm ไกลๆ ที่คาดว่าจะไปถึง
-- ถ้าคาดเดาว่า จะขึ้นลงไม่ไกลมาก Long ใกล้ๆ ATM ไปทาง OTM สัก 1 - 2 Strike
-- ถ้าเงินทุนที่จะเสียได้มีเยอะ ก็ Long ATM ได้เลย

A2 : - 1075 ไม่น่า Long Call เพราะเป็น ITM แล้ว Premium แพง ถ้าหลุด OTM จะขาดทุนหนัก
- 1100 ถ้าคิดว่าไปถึง ก็เหมาะ เพราะ Premium ราคากลาง
- 1125  Premium ถูกลงมา แต่โอกาสถึงยาก
- 1150 ค่า Premium ต่ำ ถ้ารอนานๆได้ Underlying อาจจะไปถึง
* โอกาสทำกำไรมาก >> แลกด้วยต้นทุนที่สูง
*โอกาสในการทำกำไรน้อย >> แลกด้วยต้นทุนที่ต่ำ

A3 : Options ลงทุนได้ 2 แบบ >> เก็งกำไรระยะสั้น และวางกลยุทธ์ถือยาวจนหมดอายุ
1. แบบเก็งกำไรระยะสั้น >> ตลาดมีทิศทางชัดเจน
- ควร Long Call StrickPrice ที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดที่ราคาวิ่งไปถึง
- ทำกำไรบริเวณนั้นจริงๆ >> โดยไม่ต้องรอให้ครบอายุ
2. แบบวางกลยุทธ์ ถือยาว >> ตลาดมีทิศทางชัดเจน (Uptrend / Downtrend / Sideway)
เราสามารถคำนวณกลยุทธ์ให้เหมาะสม กับระยะเวลาคงเหลือ และถูก Timedecay
(Timedecay เปรียบเหมือนค่าเสื่อมรถยนต์) ขึ้นกับความผันผวนตลาดด้วย
2.1 Long Call DOTM กรณีมี Volatility สูง >> โอกาสที่ดัชนีวิ่งไปถึง (ระยะควรเหลือมากกว่า 1 เดือน)
2.2 Long Call OTM กรณีมี Volatility ปานกลาง เลือกได้แค่ OTM
เพราะ DOTM ไม่น่าวิ่งไปถึง (ระยะเวลาตั้งแต่ 1 - 2 เดือน)
2.3 Long Call ATM กรณีตลาดแกว่งได้ไม่มาก (ระยะเวลาเหลือประมาณ 1 เดือน)
# - หากเรามีความเข้าใจมากพอ การลงทุนแบบกลยุทธ์จะมีการ Short ร่วมด้วย
- จะสร้างโอกาสทำกำไรมากขึ้น บางกลยุทธ์ทำให้ความเสี่ยงลดลง บางกลยุทธ์ใช้เงินทุนลดลง
Ex Long Call ITM + Short Call OTM หรือ Short Put OTM + Long Call OTM

-----------------------------------------------

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37857386
12/7/2018 - Short Future
Short Future (SF)
- การเทรดมุมมอง เป็นขาลง
- เปรียบเหมือนการเดิมพันว่าต้องลง
- ถ้ากราฟลงจะชนะ ถ้ากราฟขึ้นจะแพ้
- กำไรขาดทุนไม่จำกัด (จนกว่าจะหมดอายุ)

กำไร
- กำไรไม่จำกัด (ถ้ากราฟลง (จุดละ 200)) [จนกว่าสัญญาจะหมดอายุ]
ขาดทุน
- จะขาดทุนไม่จำกัด (ถ้ากราฟขึ้น (จุดละ 200)) [จนกว่าสัญญาจะหมดอายุ]

กราฟกำไร/ขาดทุน (Profit / Loss หรือ Payoff graph)
- เป็นกราฟแสดงกำไร ขาดทุน ณ วันหมดอายุ
- แกน Y กำไร / ขาดทุน คิดเป็นจุด (จุดละ 200 บาท)
- แกน X เป็นดัชนี Set50
สามารถทำกราฟตัวอย่างได้จาก http://hehew.net/

ลักษณะกราฟเป็นกราฟเส้นตรงเฉียงขึ้นไปทางขวา
ความชัน Slope = -1 [ขึ้นคงที่ ลงคงที = กำไร / ขาดทุน เท่ากันตลอด] 

Ex Short S50U18  ที่ ดัชนีSET50 = 1000
จากกราฟแสดงให้ทราบว่า
ณ วันหมดอายุสัญญา Future
- จุดที่แกน X ตัด แกน Y เรียกว่าจุดเท่าทุน จะเท่ากับจุดที่ Short Future = 1000
- ถ้าดัชนี SET50 > 1000 จะเริ่มขาดทุนไปเรื่อยๆจนกว่าจะหมดสัญญา
-- เหมือนเดิมพันว่ากราฟลง แต่กราฟขึ้น = แพ้
- ถ้าดัชนี SET50 < 1000 จะกำไรไปเรื่อยจนกว่าจะหมดสัญญา
-- เหมือนเดิมพันว่ากราฟลง และกราฟลง = ชนะ

-----------------------------------------------
เหมือนตลาดจะเปลี่ยนแปลงอัตราการวาง Margin วันที่  16/07/2018
- SET50 Index Future ปรับจาก 8930 บาท >> 11970 บาท [เพิ่มขึ้น 34%]
- Short Options minimum charge ปรับจาก 3420 บาท >> 5130 บาท [เพิ่มขึ้น 50%]
*ใครที่มี Future และShort Options ในพอร์ต และEE เหลือน้อย ต้องเตรียมตัวปรับพอร์ต

-----------------------------------------------

-----------------------------------------------------------------------------------
# Long Future กับ Short Future
- เปรียบเหมือนการ Bet เลือกทางใดทางหนึ่ง
-----------------------------------------------------------------------------------

Options : Short Call Option ,Short Put Option : EP7

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37847956
9/7/2018 - Short Call Option
Short Call Options (SC)
- คนขายประกัน >> จะเสียเงินก็ต่อเมือเกิดอุบัติเหตุ (ดัชนีเลยจุดที่ประกันไว้)
- เราได้เงินตั้งแต่ต้น (จากผู้ซื้อประกัน)
- เบี้ยประกันจะลดลงเรื่อยๆ จนถึงจุดคุ้มทุน และจะขาดทุนไม่จำกัด
- การเทรดมุมมอง เป็นขาลง

ขาดทุน
- จะขาดทุนไม่จำกัด (ขึ้นอยู่กับอุบัติเหตุว่าจะร้ายแรงขนาดไหน)
กำไร
- กำไรสูงสุด เพียงค่า Premium เท่านั้น (ได้รับตั้งแต่ผู้ซื้อ ซื้อประกัน)

กราฟกำไร/ขาดทุน (Profit / Loss หรือ Payoff graph)
- เป็นกราฟแสดงกำไร ขาดทุน ณ วันหมดอายุ
- แกน Y กำไร / ขาดทุน คิดเป็นจุด (จุดละ 200 บาท)
- แกน X เป็นดัชนี Set50
สามารถทำกราฟตัวอย่างได้จาก http://hehew.net/

ลักษณะกราฟจะต่างจาก Long Call

ถ้าเอากราฟ Long Call และ Short Call มารวมกันจะได้เส้นตรง Y = 0 : กำไร = 0 (ไม่รวมค่าคอม)
## แสดงให้เห็นว่า Long Call และShort Call เป็น Zero sum game

Ex Short Call S50 U18 C1000 ที่ Premium 10
จากกราฟแสดงให้ทราบว่า
ณ วันหมดอายุสัญญา Options
- จุดที่แกน X ตัด แกน Y เรียกว่าจุดเท่าทุน (Strike + Premium) = 1000 + 10 = 1010
- ถ้าดัชนี SET50 > 1010 จะเริ่มขาดทุนไปเรื่อยๆ (ไม่จำกัดจนกว่าจะหมดสัญญา)
-- เหมือนขายประกัน และมันเกิดอุบัติเหตุ เราเสียเงินค่าซ่อมขึ้นอยู่กับความร้ายแรง
- ถ้าดัชนี SET50 < 1000 - 1010 เงินที่ได้จากเบี้ยเริ่มขาดทุนไปเรื่อยๆ จนถึง 1000 จุด
-- เหมือนขายประกัน และแต่ยังไม่เกิดอุบัติเหตุ (เริ่มเสียเบี้ยประกัน จากเงินที่ได้จากการขาย)
- ถ้าดัชนี SET50 < 1000 จะกำไรคงที่ กำไรสูงสุด(200 x 10 = 2,000)
-- เหมือนกำไรจากการขายประกัน และไม่เกิดอุบัติเหตุ

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37851135
10/7/2018 - Short Put Option
Short Put Options (SP)
- คนขายประกัน >> จะเสียเงินก็ต่อเมือเกิดอุบัติเหตุ (ดัชนีเลยจุดที่ประกันไว้)
- เราได้เงินตั้งแต่ต้น (จากผู้ซื้อประกัน)
- เบี้ยประกันจะลดลงเรื่อยๆ จนถึงจุดคุ้มทุน และจะขาดทุนไม่จำกัด
- การเทรดมุมมอง เป็นขาขึ้น

ขาดทุน
- จะขาดทุนไม่จำกัด (ขึ้นอยู่กับอุบัติเหตุว่าจะร้ายแรงขนาดไหน)
กำไร
- กำไรสูงสุด เพียงค่า Premium เท่านั้น (ได้รับตั้งแต่ผู้ซื้อ ซื้อประกัน)

กราฟกำไร/ขาดทุน (Profit / Loss หรือ Payoff graph)
- เป็นกราฟแสดงกำไร ขาดทุน ณ วันหมดอายุ
- แกน Y กำไร / ขาดทุน คิดเป็นจุด (จุดละ 200 บาท)
- แกน X เป็นดัชนี Set50
สามารถทำกราฟตัวอย่างได้จาก http://hehew.net/

ลักษณะกราฟจะต่างจาก Long Put

ถ้าเอากราฟ Long Put และ Short Put มารวมกันจะได้เส้นตรง Y = 0 : กำไร = 0 (ไม่รวมค่าคอม)
## แสดงให้เห็นว่า Long Call และShort Call เป็น Zero sum game

Ex Short Put S50 U18 C1000 ที่ Premium 10
จากกราฟแสดงให้ทราบว่า
ณ วันหมดอายุสัญญา Options
- จุดที่แกน X ตัด แกน Y เรียกว่าจุดเท่าทุน (Strike - Premium) = 1000 - 10 = 990
- ถ้าดัชนี SET50 < 990 จะเริ่มขาดทุนไปเรื่อยๆ (ไม่จำกัดจนกว่าจะหมดสัญญา)
-- เหมือนขายประกัน และมันเกิดอุบัติเหตุ เราเสียเงินค่าซ่อมขึ้นอยู่กับความร้ายแรง
- ถ้าดัชนี SET50 > 990 - 1000 เงินที่ได้จากเบี้ยเริ่มขาดทุนไปเรื่อยๆ จนถึง 1000 จุด
-- เหมือนขายประกัน และแต่ยังไม่เกิดอุบัติเหตุ (เริ่มเสียเบี้ยประกัน จากเงินที่ได้จากการขาย)
- ถ้าดัชนี SET50 > 1000 จะกำไรคงที่ กำไรสูงสุด(200 x 10 = 2,000)
-- เหมือนกำไรจากการขายประกัน และไม่เกิดอุบัติเหตุ

-----------------------------------------------
ความคิดเห็น2 : amidamaru
- Tfex Options ต่างก็มีความเสี่ยงทั้งนั้น
- Short Options หลายคนมองเป็นความเสี่ยงสูงสุด

ถ้ามองในมุมมองการซื้อขาย การทำกำไรในตลาด
- ซื้อก่อนแล้ว ขาย หรือ ขายก่อนแล้วค่อยซื้อ >> ทั้ง 2 แบบมีโอกาสทำกำไรและขาดทุนเท่ากัน
- ในการเทรด Options >> การ Short คือการขายแล้วรอซื้อคืน
- โอกาศทำกำไรมีค่าเท่ากับการ Long ก่อนแล้ว Short ทีหลัง
# แต่คนที่ Short ก่อน ได้เปรียบเรื่อง Time Decay

-----------------------------------------------

-----------------------------------------------------------------------------------
# Short Call กับ Short Put
- กำไรที่ได้สูงสุด = Premium
- ขาดทุนไม่จำกัด
-----------------------------------------------------------------------------------

Options : Long Call Option ,Long Put Option : EP6

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37835695
5/7/2018 - Long Call Option
Long Call Options (LC)
- เป็นการเทรดมุมมองขาขึ้น
- มองว่าขาดทุนไปแล้ว (เสียค่า Premium)
ขาดทุน
- จะขาดทุนสูงสุดค่า Premium เท่านั้น (เปรียบเหมือนซื้อหวยแต่ไม่ถูก)
กำไร
- กำไรไม่จำกัด (จนกว่าจะถึงวันหมดอายุ)
- จะกำไรก็ต่อเมื่อราคาวิ่งเลยจุด Strike price + Premium

กราฟกำไร/ขาดทุน (Profit / Loss หรือ Payoff graph)
- เป็นกราฟแสดงกำไร ขาดทุน ณ วันหมดอายุ
- แกน Y กำไร / ขาดทุน คิดเป็นจุด (จุดละ 200 บาท)
- แกน X เป็นดัชนี Set50
สามารถทำกราฟตัวอย่างได้จาก http://hehew.net/


Ex Long Call S50 U18 C1000 ที่ Premium 10
จากกราฟแสดงให้ทราบว่า
ณ วันหมดอายุสัญญา Options
- จุดที่แกน X ตัด แกน Y เรียกว่าจุดเท่าทุน (Strike + Premium) = 1000 + 10 = 1010
- ถ้าดัชนี SET50 > 1010 จะมีกำไรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (1010 + Profit) จุดละ 200 บาท
-- เหมือนซื้อประกัน และมันเกิดอุบัติเหตุ เราได้เบี้ยประกันอยู่ที่ว่าอุบัติเหตุร้ายแรงแค่ไหน
- ถ้าดัชนี SET50 < 1010 จะขาดทุนไปเรื่อยๆ จนถึง 1000 จุด
-- เหมือนซื้อประกัน และแต่ยังไม่เกิดอุบัติเหตุ (อยู่ในช่วงประกันจ่ายเงินเบี้ยคืน แต่ยังไม่ได้กำไร)
- ถ้าดัชนี SET50 < 1000 จะขาดทุนคงที่ (10 x 200 = 2000 บาท) ยังไม่รวมค่าคอม
-- เหมือนขาดทุนประกัน 100% เพราะอุบัติเหตุไม่เกิด

-----------------------
ความคิดเห็นที่ 3 : amidamaru
- มีรูปตัวอย่าง EE ลดผิดปกติ
- ถ้าไม่เผื่อ Margin จะอาจโดน Call
- ถ้ารอ 9.55 น. ราคาจะกลับเป็นปกติ
# สาเหตุน่าจะมาจากเป็น Order ตั้งข้ามวัน

ความคิดเห็นที่ 7 : MrGeek
Q :- กรณีมีคนตั้งข้ามวัน
- แล้วพอเวลา 9.45 เติมเงินไม่ทัน เคยมีคนถูก บล. บังคับปิดหรือเปล่า ?
A : ตอนเช้าจะไม่โดน Force มาร์จะรอถึงช่วงเย็น

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37839033
6/7/2018 - Long Put Option
Long Put Options (LP)
- เป็นการเทรดมุมมองขาลง
- มองว่าขาดทุนไปแล้ว (เสียค่า Premium)
ขาดทุน
- จะขาดทุนสูงสุดค่า Premium เท่านั้น (เปรียบเหมือนซื้อหวยแต่ไม่ถูก)
กำไร
- กำไรไม่จำกัด (จนกว่าจะถึงวันหมดอายุ) อยู่ที่ว่าดัชนี Set50 จะลงไปเท่าไหร่
- จะกำไรก็ต่อเมื่อราคาวิ่งเลยจุด Strike price + Premium

กราฟกำไร/ขาดทุน (Profit / Loss หรือ Payoff graph)
- เป็นกราฟแสดงกำไร ขาดทุน ณ วันหมดอายุ
- แกน Y กำไร / ขาดทุน คิดเป็นจุด (จุดละ 200 บาท)
- แกน X เป็นดัชนี Set50
สามารถทำกราฟตัวอย่างได้จาก http://hehew.net/


Ex Long Put S50 U18 C1000 ที่ Premium 10
จากกราฟแสดงให้ทราบว่า
ณ วันหมดอายุสัญญา Options
- จุดที่แกน X ตัด แกน Y เรียกว่าจุดเท่าทุน (Strike - Premium) = 1000 - 10 = 990
- ถ้าดัชนี SET50 < 990 จะมีกำไรเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ (990 + Profit) จุดละ 200 บาท
-- เหมือนซื้อประกัน และมันเกิดอุบัติเหตุ เราได้เบี้ยประกันอยู่ที่ว่าอุบัติเหตุร้ายแรงแค่ไหน
- ถ้าดัชนี SET50 > 990 จะขาดทุนไปเรื่อยๆ จนถึง 1000 จุด
-- เหมือนซื้อประกัน และแต่ยังไม่เกิดอุบัติเหตุ (อยู่ในช่วงประกันจ่ายเงินเบี้ยคืน แต่ยังไม่ได้กำไร)
- ถ้าดัชนี SET50 > 1000 จะขาดทุนคงที่ (10 x 200 = 2000 บาท) ยังไม่รวมค่าคอม
-- เหมือนขาดทุนประกัน 100% เพราะอุบัติเหตุไม่เกิด

-----------------------------------------------------------------------------------
# Long Call กับ Long Put
- ลักษณะจะ คล้ายๆ กัน จะต่างกันที่ แทงลง หรือแทงขึ้น

-----------------------------------------------------------------------------------

Options : Delta Studio : EP1

TFEX Options จาก Page Delta Studio

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://web.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1829090314066158&id=1828706154104574&__tn__=K-R

Delta Studio
- จุดเริ่มต้น กลุ่มๆหนึ่ง ที่เรียนรู้ และถ่ายทอดการเทรด Options ให้ผู้ตั้งใจ
- โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ อิสระภาพทางการเงิน

- อิสระภาพทางการเงิน นำไปสู่คำหนึ่งคือ การลงทุน
- การจะมีอิสระภาพทางการเงิน เราต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน คือผลตอบแทนการลงทุน

สิ่งที่ควรู้เบื้อต้นคือ Rule of 72
- การลงทุนในตลาด ถ้าได้ผลตอบแทนเฉลี่ย 10% ต่อปีของเงินต้น
- เราจะได้เงินเป็น 2 เท่าในเวลา 7 ปี

- Options เป็นเครื่องมือทางการเงินที่ให้ผลตอบแทนสูง ถ้าลงทุนถูกวิธี
- ผลตอบแทนเฉลี่ย 10%(ต่อไตรมาส) ภายในระยะเวลา 2 ปี เงินลงทุนจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
- นำไปสู่อิสรภาพทางการเงินในที่สุด

- โลกการลงทุนปัจจุบันเปิดกว้างมาก >> การแลกเปลี่ยนความรู้ทำได้ง่าย
- การรวมกลุ่มทำให้ได้รับความรู้การลงทุนใหม่มากขึ้น >> ปรับปรุงระบบเทรด >> ขยายการลงทุน

Delta Studio
- เกิดจากการรวมกลุ่ม Trader ที่มีแนวคิดคล้ายกัน มีวัตถุประสงค์ 2 อย่างหลักๆ คือ
1. สร้างพอร์ตการลงทุน เติบโตต่อเนื่อง ในชุมชนการเทรด Options
2. สร้าง Trader รุ่นใหม่ โดยมีแนวการเทรดที่ได้มาตราฐาน สามารถทำกำไรต่อเนื่องในระยะยาว
>> เพื่อรวมงานเทรด ต่อไป

ผู้สนใจแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1. Trader ที่ประสบความสำเร็จในแนวทางของตัวเองแล้ว (ผลตอบแทน 5% ต่อไตรมาส)
- สามารถเข้าร่วมกลุ่มได้เลย >> แต่ต้องเปิดเผยกลยุทธ์การเทรด และตอบคำแนวทางของตนเอง
2. Trader รุ่นใหม่ที่ยังไม่มีแนวทางเป็นของตนเอง และสนใจเทรดแนวทางของกลุ่ม
- อาจมีการเสียค่าใช้จ่าย แลกกับการเรียนรู้ที่สั่นลง
-:ถ้าประสบความสำเร็จในการเรียน จะได้ผลตอบแทนกลับคืนมาอย่างแน่นอน

Delta Studio
- เป็นจุดเริ่มต้นของการรวมกลุ่ม Trader มีเป้าหมายแท้จริง
- สมาชิกแรกเริ่มมีผลการเทรด และแนวทางการเทรดที่ทำกำไรได้ต่อเนื่อง
- มีความตั้งใจจะถ่ายทอดความรู้อย่างถูกต้อง
- พลังของกลุ่มอาจเป็นจุดเริ่มต้นขององค์กรที่ยิ่งใหญ่ในอนาคตได้

-----------------------------------------------------------------------------------

DSM : Densri Method : EP16 [แผนครั้งที่ 4]

Update แผนการลงทุนครั้งที่ 4

-----------------------------------------------------------------------------------
แผนการลงทุนครั้งที่ 3 : https://yutaro-diary.blogspot.com/2018/01/0027-thai-stock-dsm-3-15.html
ปัญหาที่เกิด
- ปริมาณ จำนวนหุ้นที่เพิ่มขึ้นช้า [ขึ้นตามกระแสเงินสด]
- กระแสเงินสดที่ ได้จะเป็นขาลง อย่างเดียว [ระหว่างทาง จากลงถึงจุดเดิม ทำกระแสเงินสดไม่ได้]

ข้อดี
- มีปริมาณจำนวนหุ้นเยอะ เพราะใช้เงินสดไม่หมด

-----------------------------------------------------------------------------------
แผนการลงทุนครั้งที่ 4

อธิบายแผน
- เลือกหุ้นที่ต้องการ
- เข้าซื้อหุ้น ครั้งแรก 100 %  [แบ่งเป็นกองหลัง 30% ,และกองหน้า 70%]

เมื่อตลาดลง
- ลง 2,4,6,8,10 ช่อง ขาย 10%
- รับคืนช่องที่ 7,9,11 รับคืน 10%
-- เมื่อตลาดลงถึงจุดหนึ่งและขึ้น 10 ช่อง >> ซื้อ 5%
--- ถ้าตลาดลงต่อ 4,6,8 ช่อง ขาย 1.3% >> รับคืนช่องที่ 9,11
--- ถ้าตลาดขึ้น กอดหุ้นวิ่ง

เมื่อตลาดขึ้น
- เมื่อขึ้น 10,30,50 ช่อง รับหุ้นเพิ่ม 5%
--- ถ้าตลาดลงต่อ 4,6,8 ช่อง ขาย 1.3% >> รับคืนช่องที่ 9,11
--- ถ้าตลาดขึ้น กอดหุ้นวิ่ง
- เมื่อตลาดขึ้น 20,40 ช่อง ขายหุ้น 10%
-- รับหุ้นคืนเมื่อตลาดลง 20 ช่อง

การคำนวณ MM ที่ระดับราคาหุ้นต่างๆ
- จำนวนเงินที่ใช้ซื้อ ต่อหุ้นประมาณ 100,000 บาท


** ที่ทำไม่ใช้ DSM ของแท้ ของแท้เจ้าของไม่เปิดเผยต่อสาธารณะ

-----------------------------------------------------------------------------------

Options : Premium Options ,กลยุทธ์ Options : EP5

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37826400
2/7/2018 - ค่า Premium ของ Options
- ค่า Premium ของ Options ที่เทรดประกอบด้วยค่า Intrinsic Value กับ Time Value มารวมกัน

ตามสมการ
- Premium = Intrinsic Value + Time Value

Intrinsic Value [IV] - มูลค่าที่แท้จริงของตัว Options นั้นๆ
- คิดจาก ราคาใช้สิทธิ (Exercise Price หรือ Strike Price) เทียบกับ Future (หรือ Set50)

Call Options
- ถ้า Strike Price < Futures [ITM] แล้ว -- >>IV Call Options = Future - Strike Price
- ถ้า Strike Price >= Futures [ATM, OTM] แล้ว -- >>IV Call Options = 0

Put Options
- ถ้า Strike Price > Futures [ITM] แล้ว -- >>IV Put Options = Strike Price - Future
- ถ้า Strike Price <= Futures [ATM, OTM] แล้ว -- >>IV Put Options = 0

Time Value [TV] - มูลค่าของ Options ที่เกิดจากเวลาที่เหลืออยู่ก่อนหมดอายุ
- ถ้าเวลาเหลือมาก Time Value จะมาก
- ถ้าเวลาเหลือน้อย Time Value จะน้อย

Options ที่เป็น ITM จะมีทั้งค่า Intrinsic Value และ Time Value เป็น +
Options ที่เป็น ATM และOTM จะมีแต่ค่า Time Value เป็น + ,ส่วนค่า Intrinsic Value = 0

Ex สมมุติว่า S50U18 = 1050
- ถ้า S50U18C1050 Premium = 30
- C 1050 อยู่ที่ ATM พอดี (ค่า Exercise = Future [1050 - 1050])
-- ค่า Intrinsic Value จะเท่ากับ 0
-- ค่า Time Value >> Time Value = Premium - Intrinsic Value
-- ค่า Time Value = 30 - 0 = 30

- ถ้า S50U18C1100 Premium = 15
- C 1100 เป็น OTM . Strike Price > Future , [1100 > 1050]
-- ค่า Intrinsic Value จะเท่ากับ 0
-- ค่า Time Value >> Time Value = Premium - Intrinsic Value
-- ค่า Time Value = 15 - 0 = 15

- ถ้า S50U18C1000 Premium = 60
- C 1000 เป็น ITM . Strike Price < Future , [1000 < 1050]
-- ค่า Intrinsic Value จะเท่ากับ 1050 - 1000 = 50
-- ค่า Time Value >> Time Value = Premium - Intrinsic Value
-- ค่า Time Value = 60 - 50 = 10
-- Premium = 10 + 50 = 60


- ถ้า S50U18P1050 Premium = 30
- P 1050 อยู่ที่ ATM พอดี (ค่า Exercise = Future [1050 - 1050])
-- ค่า Intrinsic Value จะเท่ากับ 0
-- ค่า Time Value >> Time Value = Premium - Intrinsic Value
-- ค่า Time Value = 30 - 0 = 30

- ถ้า S50U18P1100 Premium = 65
- P 1100 เป็น ITM . Strike Price > Future , [1100 > 1050]
-- ค่า Intrinsic Value จะเท่ากับ 1100 - 1050 = 50
-- ค่า Time Value >> Time Value = Premium - Intrinsic Value
-- ค่า Time Value = 65 - 50 = 15

- ถ้า S50U18P1000 Premium = 10
- P 1000 เป็น OTM . Strike Price < Future , [1000 < 1050]
-- ค่า Intrinsic Value จะเท่ากับ 0
-- ค่า Time Value >> Time Value = Premium - Intrinsic Value
-- ค่า Time Value = 10 - 0 = 10
-- Premium = 10 + 0 = 10

- ปกติค่า Time Value จะรวม Volatility ไว้ด้วยแล้ว
- เวลาตลาดตกใจ จึงมีค่า Premium ไม่แน่นอน

- โดยปกติ ค่า Time Value : Call ,Put Options Strike เดียวกันจะมีค่า Time Value เท่ากัน
เพราะค่าที่ได้จะมีความสัมพันธ์กัน [Future = Call - Put]
- ถ้าค่า Time Value ต่างกันมาก >> จะมีคนทำ Arbitrage เพื่อ
เกร็งกำไร จากความต่างของค่า Time Value

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37832491
4/7/2018 - กลยุทธ์ต่างๆ ของ Options
- การซื้อขาย Options มี 4 รูปแบบ
-- Long Call (LC) - แทงขึ้น
-- Short Call (SC) - กินประกันหากลง (กำไรจำกัด) , ถ้าขึ้นขาดทุนไม่จำกัด
-- Long Put (LP) - แทงลง
-- Short Put (SP) กินประกันหากลงขึ้น (กำไรจำกัด) , ถ้าลงขาดทุนไม่จำกัด
- การซื้อขาย Future มี 2 รูปแบบ
- Long >> แทงขึ้น
- Short >> แทงลง

- ถ้าเรานำการซื้อขาย Order ในรูปแบบต่างๆมารวมกัน จะทำให้เกิด กลยุทธ์ต่างๆ
Ex Straddle , Strangle , Split และอื่นๆ
- การใช้แต่ละกลยุทธ์ แล้วแต่สถาณการณ์ และแผนการเทรดของแต่ละคน

สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
Link : https://www.optionsplaybook.com/option-strategies/
Link : http://www.theoptionsguide.com/option-trading-strategies.aspx

-----------------------------------------------------------------------------------

Options : การส่ง order Options ,Final Settlement Price : EP4

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37804996
25/6/2018 - การส่ง order ของ Options
- การซื้อขายหุ้น จะมีแค่ Buy และ Sell
- Tfex กับ Options จะมี Open , Close , Long , Short
-- Open ใช้สำหรับการเปิดสัญญา
-- Close ใช้ในการปิด สัญญา (ที่เคยเปิดไว้ก่อน)
-- Long เปรียบเหมือนกันเปิด Buy
-- Short เปรียบเหมือนกับเปิด Sell

Ex ต้องการเปิด Order LongCall S50M18 ที่ Strike 1100 Premium 1.5จุด จำนวน 1 สัญญา
- ต้องส่ง Order - Open Long S50M18C1100 ,Premium = 1.5, qty = 1
- ถ้า Match เราจะได้ Order มาอยู่ในพอร์ต

ถ้ามี Order แล้วเราอยากปิดทำกำไร
Ex  ต้องการปิด Order ShortCall S50M18 ที่ Strike 1100 Premium 5.5 จุด จำนวน 1 สัญญา
- ต้องส่ง Order ตรงข้าม
-- Open >> Close , Long >> Short
- ต้องส่ง Order - Close Short S50M18C1100 ,Premium 5.5 , qtv = 1

ถ้า Match เรียบร้อย จะได้กำไร Premium = 5.5 - 1.5 = 4.0 จุด
- กำไรทั้งหมด 4 x 200 = 800 บาท [ยังไม่หักค่า คอม]

- ถ้าในพอร์ตมีสัญญา หลาย Strike การส่ง Order เปิดปิดจะยุ่งยาก
- เพราะต้องเช็คว่ามีสัญญาไหนค้างไหม [มี Long หรือมีShort อยู่]
Ex -- ถ้ามี Long ค้างอยู่ แล้วจะ เปิด Long เพิ่ม ต้องส่ง Order Open Long
-- ถ้ามี Long ค้างอยู่ และจะเปิด Short เพิ่ม ต้องส่ง Order Close Short
-- ถ้ามี Short ค้างอยู่ และจะเปิด Short เพิ่ม ต้องส่ง Order Open Short
-- ถ้ามี Short ค้างอยู่ และจะเปิด Long เพิ่ม ต้องส่ง Order Close Long

- จะเห็นว่าการส่ง Order ค่อนข้างวุ่นวาย >> ถ้าใครไม่ได้สนใจว่าจะ Open หรือ Close
>> แค่จะ Long หรือ Short เท่านั้น >> โดยไม่ต้องค่อยดูว่ามีสัญญาเปิดไว้ด้านละเท่าไหร่
- จะมี Broker ที่สามารถรองรับคำสั่ง Auto Position : ไม่ต้องค่อยสั่ง Open หรือ Close
- ระบบจะดูจากสัญญาที่เปิดในพอร์ตของเรา >> ระบบจะไปจัดการเอง >> ทำให้สะดวก
- แต่ไม่ใช่ทุก Broker จะรองรับ Feature นี้

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37817538
29/6/2018 - Final Settlement Price ของ Options series M18
- ราคาที่ใช้ชำระ ราคาในวันที่ซื้อขายวันสุดท้าย (Final Settlement Price)
- Tfex Future และ Options Series M18 = 1062.46

- ถ้าใครถือสัญญา Series M18 จนหมดอายุเมื่อวานนี้
- ทุกสัญญาจะโดนปิด โดยอัตโนมัติ >> และคิดกำไรขาดทุน ตามสัญญาที่มีในพอร์ต

- Future จะโดนคิดค่า Commission ตามปกติ เท่ากับเราสั่ง Close Order เอง
- Options ทั้ง Call และ Put ไม่ว่า Long หรือ Short จะไม่เสียค่า Commission
-- ถ้าเรา Long Options ที่เป็น ITM [In - The - Money] >> จะเสียค่าธรรมเนียมปิดสัญญา 10บ./ สัญญา

Ex - ถ้ามี Short Options จะไม่เสียค่า Commission และค่าธรรมเนียม
- ถ้ามี Long Options ที่เป็น ATM หรือ OTM จะไม่เสียค่า Commission และค่าธรรมเนียม

- คนที่ถือสัญญา Series M18 เยอะ จน EE (Equity Excess) เหลือน้อย
>> จะได้เงินทุนคืน และ EE กลับมาเป็นปกติทั้งหมด
- คนที่ EE เหลือเยอะ คงเริ่มเทรด Series U18 มาสักพัก

ความคิดเห็นที่ 7
อธิบายเรื่อง Combo
- การคิดราคา S50U18Z18 จะคิดจากราคา Z18 - U18 [เอาตัวหลัง - ตัวหน้า]
- คือความห่างของราคาระหว่าง Series ที่เอามาเปรียบเทียบ

- Combo Order มักใช้ตอน Roll over เพื่อยังคงทิศเดิมต่อไปใน Series ถัดไป
Ex -- ถือ Short M18 มาแล้วจะ Roll over ไป U18 >> ก็ส่ง Short S50M18U18
-- ถือ Long M18 มาแล้วจะ Roll over ไป U18 >> ก็ส่ง Long S50M18U18
เพิ่มเติม
- การ Long S50M18U18 คือ การ Short S50M18 และLong S50U18 พร้อมกัน
-- ถ้าเรามี Order Long S50 M18 อยู่ 1 สัญญา >> แล้ว Order Match ที่ 2.0 คือ
-- S50M18 จะ Close Order ที่ราคานั้น สมมติ 1050.0 และOrder จะโดนเอาออกจากพอร์ตไปด้วย
-- เราจะได้ Order Long S50U18 ไปอยู่ในพอร์ตแทน โดยได้ที่ราคา 1050 + 2 = 1052.0
- สรุปจะมี Order Long S50U18 1 สัญญาที่ราคาสูงขึ้น 2 จุด (1052)

-----------------------------------------------------------------------------------

Options : EE ,ความผันผวนกับ Options ,Synthetic Options : EP3

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37785583
19/6/2018 - ระวังเรื่อง EE กันด้วยนะครับ
- ตลาดลงแรง
-- ถ้าพอร์ตใครมี EE [Excess Equity] เหลือน้อย ต้องคอยระวัง
-- ถ้า EE ลดลงมาก ติดลบถึง Call Flag จะโดนมาร์โทรมาให้เติมเงิน
-- ถ้า EE ลงเพิ่ม Force Flag จะโดนบังคับปิดสัญญา [Force close]

- อาจจะต้องเตรียมหาทางเพิ่ม EE
-- เตรียมหาเงินมาเติมในพอร์ต
-- ลดสัญญาพอร์ต โดยเฉพาะตัวที่กิน Margin มากๆ

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37789007
20/6/2018 - ความผันผวนกับ Options
- ถ้าตลาดผันผวนมาก >> Volatilitu สูง >> ทำให้ Premium Options สูงขึ้นด้วย
- กลยุทธ์ที่นิยม ถ้าคาดว่าตลาดมีความผันผวนมาก คือ Long Volatility
Ex Long Call + Long Put [Break out]

- ถ้าคาดว่าตลาดผันผวนจะลดลง คือ Short Volatility
Ex Short Call + Short Put [Sideway ในกรอบ]

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37792332
21/6/2018 - Synthetic Options
- Options มี 2 ชนิด Call Options และ Put Options
- Options มีความสัมพันธ์ กับ Fututrs ตามสมการ

Future = Call - Put
- เครื่องหมาย + คือการLong , เครื่องหมาย - คือการShort
-- ถ้าจะ Long[+] Future จะสามารถทำ Long[+] Call และ Short[-] Put ที่ Strike เดียวกันแทนได้
-- ถ้าจะ Short[-] Future จะสามารถทำ Short[-] Call และ Long[+] Put ที่ Strike เดียวกันแทนได้

Synthetic Options เกิดจากการย้ายข้างสมการ
- Call = Put + Future , Put = Call - Future
-- ถ้าจะ Long[+] Call  จะสามารถทำ Long[+] Put และ Long[+] Future แทนได้
-- ถ้าจะ Short[-] Call  จะสามารถทำ Short[-] Put และ Short[-] Future แทนได้
-- ถ้าจะ Long[+] Put  จะสามารถทำ Long[+] Put และ Short[-] Future แทนได้
-- ถ้าจะ Short[-] Put  จะสามารถทำ Short[-] Put และ Long[+] Future แทนได้

การคำนวณราคา Premium คิดจากสมการ
- Syn Call = Put + (Future - Strike) , Syn Put = Call + (Future - Strike)
- ราคา Call , Put และ Future จะสัมพันธ์กันตามสมการนี้เสมอ
- ถ้าราคามีผิดจากปกติมากจะมีคนทำ Abitrage

ประโยชน์ของ Synthetic options มีหลายอย่าง
- Bid / Offer ฝั่งไหนดีกว่า เราก็ไปซื้อขายฝั่งนั้นแทน
- ถ้าต้องการ Volume เราสามารถเลือกฝั่งได้
- เราสามารถทำ Synthetic Call , Put แทนการซื้อขาย Call , Put ตรงๆ

ข้อเสียคือ เราเสียค่า Commission มากขึ้นกว่าการซื้อขายตรงๆ
------------------------------------------
เพิ่มเติม
ค่าธรรมเนียม Tfex กับ Options
Link1 : https://www.tfex.co.th/files/ExchangeFees01032018TH_v2.pdf
Link2 : https://www.tfex.co.th/th/products/files/S50OPT_TH_201804.pdf

ค่าธรรมเนียม Tfex กับ Options บัวหลวง
Link1 : http://www01.bualuang.co.th/DW/TFEX_Commission.pdf

------------------------------------------
-----------------------------------------------------------------------------------

Options : ข้อดีของ Options ,Options ของไทย : EP2

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37766096
13/6/2018 - ข้อดีของ Options
- สามารถทำกำไรได้ทุกสภาพตลาด [Side Way, Up Trend, Down Trend]
- แต่ก็สามารถขาดทุนได้สภาพตลาดเช่นกัน
- ถ้าตลาดอยู่นิ่งๆ ไม่ไปไหน หุ้น หรือ Future สามารถทำกำไร ไม่ดีเท่า Options
- Options เป็น Zero sum game มีคนได้มีคนเสีย [มีฝั่งได้มีฝั่งเสีย]

- Options สามารถนำมาใช้ได้ในระบบ ได้หลายรูปแบบ
-- แบบเก็งกำไร แบบไม่เก็งกำไร แบบเก็งทิศทาง ไม่เก็งทิศทาง
-- แบบใช้กลยุทธ แบบไม่มีกลยุทธ แบบป้งกันความเสี่ยง , บริหารความเสี่ยง
- ขึ้นกับคนที่นำไปใช้ว่าจะทำแบบไหน

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37769217
14/6/2018 - ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ Options
เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่เคยสรุปไว้แล้ว
Link 1 : http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/10/0002-options-tfex-easy-1.html
Link 2 : http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/10/0003-options-tfex-easy-2.html

ความคิดเห็นที่ 7
- ขอคำแนะนำ มี Short Put 1100 เสี่ยวว่ามันจะลงถึง ขอคำแนะนำ

ความคิดเห็นที่ 8
- Options ถือ Short ไม่ว่า SP หรือ SC ควรมีแผนรองรับเสมอ
- SP1100 เป็น OTM ราคายังถือว่าไม่เสียเปรียบ
หลักการทัวไปจากขาดทุนไม่จำกัดเป็นขาดทุนจำกัด
1. กำหนดจุด SF กี่สัญญา เพื่อป้องกันความเสี่ยง
1.1 ทยอยทำทำทีเดียว
1.2 ทยอยทำตอมการลง
2. ใช้ LP 1125 ประกบ ทำตามรูป Bear put spread ค่อยๆเติมเข้าไปเป็น Ratio
- ถ้าลงต่อไปเรื่อยๆ จน LP 1125 แพง อาจประกบด้วย LP1075 เพื่อ limit loss ส่วนที่เหลือ
- หากมีเงินเหลือในพอร์ต สามารถ SC far  OTM เช่น SC1150 SC1175 เพื่อเอาพรีเมียมมาชดเชย
ค่า LP 1125 หรือ 1075
3. SC ประกบ ทำให้อยู่ในรูป Short Straddle แล้วไปหาวิธีสู้ต่อ

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37772638
15/6/2018 - Options ของไทย
- Options ในไทยมีแบบเดียวคือ อิง Set50
- ในต่างประเทศจะมีอิงหุ้นรายตัว

-  Options แบ่งเป็น series เหมือน Future
- Series ที่คนนิยมเทรดมีทั้งหมด 4 Series
-- H หมดสิ้นอายุเดือน 3
-- M หมดสิ้นอายุเดือน 6
-- U หมดสิ้นอายุเดือน 9
-- Z หมดสิ้นอายุเดือน 12
- Series อื่นไม่ค่อยมีคนเทรด

- การแบ่ง Strike แบ่งเท่ากัน 25 จุด
- สมัยก่อนเคยมี 10 จุด [ช่วยให้เทรด Options สะดวกมากขึ้น (ปรับกลยุทธได้ง่าย)]

คำแนะนำ ตลาดควรยุบ Series ที่ไม่ค่อยมีคนเทรด และควรปรับระยะห่างเป็น 10 จุด

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37782152
18/6/2018 - Options series M18 ใกล้หมดอายุแล้ว
- อีก 2 อาทิตย์ Options Series m18 จะหมดอายุ
- ถ้าใครเทรดใช้กลยุทธ์ น่าจะเริ่มปรับพอร์ตให้มีกำไร ไม่ว่า Set 50 จะจบตรงไหน
-- ถ้าบางคนกำไรคงที่กราฟจะเป็นเส้นตรง

- ปกติการดูกราฟพอร์ต กำไรขาดทุน [Profit / Loss graph หรือ Payoff graph] >>
จะทำให้เห็นภาพกำไร ขาดทุนได้ง่ายขึ้น
- สามารถทำกราฟได้จากเว็ป http://hehew.net/ หรือจาก Straming ก็ได้
- ต้อง + - กำไรขาดทุนสัญญาที่ปิดไปแล้วทั้งหมด [Realized P/L]

ความคิดเห็นที่ 5
- ราคา Set50 ปิดที่ 1117 ห่างจากราคาใช้สิทธิล่างสุด 1075 จุดที่ 42 จุด
Q : อยากทราบว่า ทำไมระบบ ซื้อขายยังไม่เปิด Put / Call 1050 ?
A : - ให้ช่วงห่างของราคาใช้สิทธิเท่ากับ 25 จุด
- ในช่วงเริ่มต้นทุกวันทำการ กำหนดให้มี Options Series ต่อไปนี้
-- At - The - Money จำนวน 1 Series
-- ITM , OTM จำนวนอย่างละไม่น้อยกว่า 2 Series
# เพราะฉะนั้น ถ้าราคาอยู่แถวๆ 1100 [ATM] ถึงจะเพิ่ม 1050 ในวันถัดไป

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
-

Options : เปิดกระทู้เกี่ยวกับเรื่อง Options : EP1

TFEX Options จากคุณ Mongkon/Pong ในกระทู้ Pantip

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://pantip.com/topic/37759378
11/6/2018 - เปิดกระทู้เกี่ยวกับเรื่อง Options
- ต้องการเปิดกว้างให้ทุกคน ในประเด็นการเทรด Options
- สามารถสอบถามได้
- ถ้าเข้าใจ Options จะสามารถทำให้พอร์ตมั่งคง
- ถ้าคนสนใจมากอาจสามารถตั้งชมรมคนเทรด Options ในไทยได้

ความคิดเห็นที่ 24
- เจ้ามือ Options ยังไม่มีตัวตนอย่างเห็นได้ชัด เพราะขนาดยังไม่ใหญ่
- ราคา Options โกงราคาแบบไร้เหตุผลไม่ได้ >> เพราะราคาอิง Set50 Future
- ถ้าโกงราคาจะโดน Arbitrage

ฝากสมการ IF = IC+ SP Strike เดียวกัน , SF = IP + SC Srtike เดียวกัน

- ราคา Options ผูกติดกับ Future อย่างเลี่ยงไม่ได้
- ถ้าเล่น Options แล้ว ไม่เข้าใจสมการนี้จะเสียเปรียบ
- การที่ Options เหมือนพี่น้อง Future เราสามารถนำ Options เทรดป้องกันความเสี่ยง Future ได้

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://pantip.com/topic/37762679
12/6/2018 - ปัญหาในการเทรด Options
- ปัญหาในการคิด Margin
- เกิดกับคนที่เทรด Short Options
-- ขาดทุนไม่แน่นอนเนื่องจาก การคิด Margin มีตัวแปรมากที่คนเทรดไม่รู้
-- ใครที่มี EE [Excess Equity] อาจเจอปัญหา ก่อนตลาดเปิด EE ตอนเช้าติดลบ >> ส่ง Order ไม่ได้
*ถ้าใครเทรดไม่เยอะ หรือเทรด Long อย่างเดียว หรือ EE เหลือเยอะจะไมเจอปัญหา

ปัญหาเกิดจาก
- การคิด Margin ช่วงเช้าก่อนตลาดเปิด จนถึง 9.55 น
>> ตลาดจะเอาราคา Offer ของแต่ละ Strike มาคิดด้วย
>> ใครตั้ง Order ข้ามวัน โดยที่ Offer สูงมากผิดปกติ >> จะทำให้ Strike สูงมากกว่าปกติ
>> Short Strike กิน Margin มากกว่าปกติ >> ทำให้ EE ลดลงอย่างมาก จนติดลบ
- บางคนอาจเจอ Call margin หรือ Force margin เลย

- ตลาดปรับการคำนวณ Margin Options ทุกๆชั่วโมง : Hr : 55 ,9.55 , 10.55
- ถ้าราคา Offer กลับเป็นปกติช่วงนั้น >> Margin กลับเป็นปกติ >>  EE จะกลับเป็นเหมือนเดิม
* ปัญหาที่เกิดคือ เสียจังหวะเทรดในช่วง 9.45 - 9.55 เนื่องจาก EE ติดลบจากการคำนณผิด

- การคำนวณ Margin ของ Future เป็นแบบ Real Time
- แต่การคำนวณ Margin ของ Options เป็นแบบทุกๆชั่วโมง
## อยากให้ปรับการคำนวณ Margin ของ Options แบบ Real Time ด้วย
## เลิกเอาค่า Offer ผิดปกติมาค่า Margin
- จะหมดปัญหาการคิด Margin แบบกระโดดไปมา

ความคิดเห็นที่ 14
- สภาพคล่องบางคนมองเป็นปัญหา บางคนมองเป็นโอกาส
- โอกาสที่พูดถึงคือ การได้ราคาที่ดีกว่าที่ควรจะเป็น
>> Short ได้ค่า Premium หรือ Longในราคาที่ถูก
- ราคา Option อ้างอิงกับ Future เสมอ >> รายใหญ่ไม่สามารถปั้นราคาไร้เหตุผลได้
- คนที่มีความรู้เข้ามาทำ Arbitrage  [IF = LC + SP , SF = LP + SC (ที่ Strike)]
Ex Arbitrage
- LC1150 + SP1150 = IF 1132.4
- คิดจาก LC จ่าย Premium 6.3 , SP รับ Premium 23.9 = 23.9 - 6.3 = 17.6
>> Strike 1150 - 17.6 = 1132.4  >> SF ที่ 1133.4
- เทรดทั้ง 3 ชุดในเวลาเดียวกัน เพื่อปิดความเสี่ยง
- จะได้กำไร 1 จุด = 200 บาท หักค่าคอม เหลือ 100 บาท
- เป็นตัวอย่างไม่ดีเพราะกำไรน้อย และขึ้นอยู่กับตลาดแต่ละวัน
- เป็นตัวอย่างการเทรด Option รูปแบบหนึ่ง

-----------------------------------------------
เพิ่มเติม
Link : https://inv4.asiaplus.co.th/cms/ajax/derivatives_options02.php?ln=t
Options แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
- Call Options >> ให้สิทธิแก่ผู้ซื้อ ในการซื้อสินค้าอ้างอิง
- Put Options >> ให้สิทธิแก่ผู้ซื้อ ในการขายสินค้าอ้างอิง

สามารถแบ่ง Call Options และ Put Options เป็น 4 แบบ
1. ฐานะซื้อคอลออบชั่น (Long Call Options)
- นักลงทุนซื้อสิทธิในการซื้อ
- การจะได้สิทธื >> จ่ายค่า Premium >> แก่ผู้ขาย Call Options
- เมื่อถึงเวลากำหนด >> ผู้ซื้อ Call Options จะมาใช้สิทธิ หรือไม่ก็ได้ >> ถ้าไม่มาใช้สิทธิ
>> ผู้ซื้อขาดทุนเท่าค่า Premium
2. ฐานะซื้อพุทออปชั่น (Long Put Options)
- นักลงทุนซื้อสิทธิในการขาย
- การจะได้สิทธิ(ซื้อสิทธิในการขาย) >> จ่ายค่า Premium >> แก่ผู้ขาย Put Options
- เมื่อถึงกำหนดเวลา >> ผู้ซื้อ Put Options จะมาใช้สิทธิ หรือไม่ก็ได้ >> ถ้าไม่มาใช้สิทธิ
>> ผู้ซื้อขาดทุนเท่าค่า่ Premium
3. ฐานะขายคอลออปชั่น (Short Call Options)
- นักลงทุนขายสิทธิ ในการซื้อ
- ผู้ขาย ขายสิทธิในการซื้อ >> ผู้ขายได้รับค่า Premium >> มีภาระผูกพันที่ต้องปฎิบัติตาม
>> เมื่อผู้ซื้อ Call Options ใช้สิทธิ (โอกาสขาดทุนไม่จำกัด)
- ถ้าผู้ซื้อไม่มาใช้สิทธิ >> กำไรที่ได้รับคือค่า Premium
4. ฐานะขาย พุทออปชั่น (Short Put Options)
- นักลงทุนขายสิทธิในการขาย
- ผู้ขายสิทธิในการขาย >> ผู้ขายได้รับค่า Premium >> มีภาระผู้พันที่ต้องปฎิบัติตาม
>> เมื่อผู้ซื้อ Put Options ใช้สิทธิ (โอกาสขาดทุนไม่จำกัด)
- ถ้าผู้ซื้อไม่มาใช้สิทธิ >> กำไรที่ได้รับคือค่า Premium

สถาณะที่ได้รับประโยชน์ [In The Money]
- Long Call Options (แท่งขึ้น ,ราคาวิ่งเหนือ กว่าราคาใช้สิทธิ ถึงทำกำไรได้)
-- จะได้รับประโชยน์ เมื่อราคาสินทรัพย์อ้างอิง (ดัชนี Set50) ภายใต้สัญญามากว่าราคาใช้สิทธิ
Ex ซื้อราคาใช้สิทธิ 1000 จุด ราคาสินทรัพย์อ้างอิง 1100 จุด = กำไร 100 จุด (ยังไม่รวม Premium)
- Long Put Options (แทงลง ,ราคาวิ่งต่ำ กว่าราคาใช้สิทธิ ถึงได้กำไร)
-- จะได้ประโยชน์ เมื่อราคาใช้สิทธิมากกว่า ราคาสินทรัพย์อ้างอิง (ดัชนี Set 50) ภายใต้สัญญา
Ex ซื้อราคาใช้สิทธิ 1000 จุด ราคาสินทรัพย์อ้างอิง 800 จุด = กำไร 200 จุด (ยังไม่รวม Premium)

สถาณะที่เสียผลประโยชน์ [Out Of The Money]
- Long Call Options
-- จะเสียผลประโชยน์ เมื่อราคาสินทรัพย์อ้างอิง (ดัชนี Set50) ภายใต้สัญญาต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ
Ex ซื้อราคาใช้สิทธิ 1000 จุด ราคาสินทรัพย์อ้างอิง 800 จุด = ขาดทุน 200 จุด (ยังไม่รวม Premium)
- Long Put Options
-- จะเสียผลประโยชน์ เมื่อราคาใช้สิทธิต่ำว่า ราคาสินทรัพย์อ้างอิง (ดัชนี Set 50) ภายใต้สัญญา
Ex ซื้อราคาใช้สิทธิ 1000 จุด ราคาสินทรัพย์อ้างอิง 1100 จุด = ขาดทุน 100 จุด (ยังไม่รวม Premium)

สถาณะที่ไม่ได้รับประโชยน์ และไม่เสียผลประโยชน์ [At The Money]
- Long Call Options ,Long Put Options
- เมื่อราคาสินทรัพย์ อ้างอิงภายใต้สัญญา เท่ากับราคาใช้สิทธิ์
- แต่เสียค่า Premium เมื่อซื้อสิทธิ

-----------------------------------------------

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
-

Tfex Options : TFEX EASY : EP3 [Youtube]

Tfex Options : TFEX EASY : EP3 [Youtube]

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=IjEi6trM8u4
ตอนที่ 5 : Call Options
เจาะลึก Call Options [แทงขึ้น]
วิธีคำนวณกำไร Call Options
Ex Call Options อ้างอิง Set50 หมดอายุกันยายน 2013 มีราคาใช้สิทธิที่ 800 จุด
- จ่ายค่า Premium 30 จุด
- ค่า Premium 1 จุด = 200 บาท : 30 จุด = 6,000 บาท
- เมื่อ Options หมดอายุ แล้ว ดัชนี Set50 ไปที่ 850 จุด
- เราซื้อที่ 800 จุด >> แต่ราคาไปที่ 850 จุด >> ต่างกัน 50 จุด
- เราจะได้กำไรส่วนต่าง 50 จุด >> แต่เราเสียค่า Premium ไป 30 จุด สรุปเราได้ 20 จุด
- เราได้กำไรสุทธิจริงๆ 20 x 200 = 4,000 บาท
# เรามีโอกาสได้กำไรไม่จำกัด ถ้าดัชนีเพิ่มสูงขึ้น
- ถ้าดัชนีลงต่ำกว่า 850 [ต่ำกว่าราคาใช้สิทธิ]
- เราสามารถไม่ใช้สิทธิ เราจะเสียค่า Premium ไปฟรีๆ [30 จุด = 6,000 บาท]

* ผู้ขาย Call Options (ตรงข้ามกับเรา) เขาจะได้เงินค่า Premium เป็นค่าความเสี่ยง

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=fOPGWOHcZ-E
ตอนที่ 6 : Put Options
Put Options
Ex Put Options อ้างอิง Set50 หมดอายุกันยายน 2013 มีราคาใช้สิทธิที่ 850 จุด
- จ่ายค่า Premium 10 จุด = [10 x 200 = 2,000 บาท]
- ค่า Premium เป็นการจองสิทธิในการขาย
- ถ้าครบกำหนด ดัชนี Set50 ปรับตัวลดลง ไปที่ 810 จุด
- เราจะได้ส่วนต่างราคา 850 - 810 = 30 จุด
- แต่ได้กำไรสุทธิ (ลบค่า Premium) = 30 -10 = 20 [20 x 200 = 4,000 บาท]
- ถ้าเราลงต่ำมากเท่าไหร่เราจะได้กำไรมากขึ้นเท่านั้น
- ถ้าราคาขึ้นไปสูงกว่า 850 เราจะเสียค่า Premium ไปฟรี

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=gOIGfhYhNys
ตอนที่ 7 : คาดว่าตลาดขึ้น ซื้อ Call Options [แทงขึ้น]
กลยุทธการืำกำไรจาก Call Options
- ปกติถ้า Set อยู่ในช่วงขาขึ้น จะมีแต่คนไปซื้อ Call Options
- เราสามารถทำกำไร โดยไม่ต้องรอให้ Options ครบกำหนดอายุสัญญาก็ได้

- ถ้าดัชนี Set 50 อยู่ในช่วงขาขึ้น เปรียบเหมือนเราสามารถซื้อของที่มีราคาสูงในราคาที่ถูก
เราจะมีกำไรสุทธิเพิ่มขึ้น >> ดังนั้น ค่า Premium จะมีราคาสูงขึ้นตาม
- ผู้ที่มี Call Options อยู่ในมือ เราไม่จำเป็นต้องรอหมดอายุ
- เราสามารถทำกำไรจากส่วนต่างของค่า Premium ได้ทันที

Ex เราซื้อ Call Options ที่ค่า Premium 30 จุด
- เมื่อเวลาผ่านไป ดัชนีเพิ่มมากขึ้น ค่า Premium เพิ่มเป็น 40 จุด
- เราสามารถขาย เพื่อทำกำไรส่วนต่างจากค่า Premium ได้
- เราจะได้กำไรส่วนต่างค่า Premium [40 -30 = 10 : 10 x 200 = 2,000 บาท]

#ถ้าดัชนีเป็นขาลง เราจะเสียค่า Premium ทั้งหมด [ไม่ใช้สิทธิ]

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=9YmuadJ6MW8
ตอนที่ 8 : ตลาดลงซื้อ Put Options [แทงลง]
- Put Options สามารถทำกำไรได้เมื่อตลาดเป็น ขาลง
- Put Options เป็นสิทธิในการขายในราคาที่กำหนด
- หาก ดัชนี Set50 ลงต่ำว่าราคาที่กำหนด >> เปรียบเหมือนเรา ซื้อจองสิทธิที่ราคาขายไว้
Ex เราจองสิทธิในการขายไว้ที่ ราคา 600 แต่ดัชนีปรับตัวลงไปที่ 550 เราก็เข้าไปซื้อ
เปรียบเหมือน เราจองสิทธิขายก่อนซื้อ
- ยิ่งดัชนีลงเรายิ่งได้ เรายิ่งได้มูลค่าที่สูงขึ้น
- เราสามารถใช้สิทธิขายเมื่อ หมดสัญญา หรือทำกำไรก่อนหมดอายุสัญญาก็ได้
- เมื่อดัชนี ปรับตัวลดลง ค่า Premium ของ Put Options ก็จะปรับขึ้นตาม
- เราสามารถทำกำไรจาก ส่วนต่างของค่า Premium ก่อนหมดอายุสัญญาได้

#ถ้าดัชนีเป็นขาลง เราจะเสียค่า Premium ทั้งหมด [ไม่ใช้สิทธิ]

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=2MI1Ll-npG8
ตอนที่ 9 : ตลาด Sideway ก็ทำกำไรได้
การทำกำไรจากตลาด SW
- เป็นช่วงที่ตลาดไม่ค่อยเคลื่อนไหว
- เราสามารถขาย Option ที่ คาดว่าผู้ซื้อจะไม่มาใช้สิทธิเมื่อครบสัญญา
- ที่เรียกว่า "Out - Of - The money Options"

Ex ดัชนี Set50 อยู่ในช่วง 810 เราคาดว่าไม่น่าเกิน 820
- เราเลือกขาย Call Options ค่า Premium 20 จุด
>> ถ้าดัชนีไม่ไปเกิน 820 จุด >> ผู้ซื้อไม่มาใช้สิทธิ >> เราได้ค่า Premium
- แต่หากวันที่ใช้สิทธิ ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ >> ผู้ซื้อ Call Options มาใช้สิทธิ
>> เราจะเสียเงินส่วนต่างจากค่า Premium ด้วย
** ขาดทุนไม่จำกัด

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=3HFdOZ7HO3M
ตอนที่ 10 : ผสมผสาน Call Options / Put Options สร้างกลยุทธ์การลงทุน
เราสามารถนำ กลยุทธ์ มาสร้างเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ

- ถ้าคาดว่าตลาดอยู่ในช่วงขาขึ้น ให้เรา Call Options
- ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาด เราจะเสียค่า Premium

- ถ้าคิดว่าตลาดอยู่ในช่วงขาลง เราก็ Put Options
- ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาด เราจะเสียค่า Premium

- ถ้าคาดว่าตลาดอยู่ในช่วง Sideway
- ให้เราขาย Call Options และขาย Put Options
- ถ้าเป็นไปตามที่คาดการณ์ ผู้ซื้อ จะไม่มาใช้สิทธิ >> เราได้กำไรจากส่วนต่าง
## แต่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาด เราจะเสีย (ขาดทุนไม่จำกัด)

- ถ้าคาดว่าตลาดมีการเคลื่อนที่ไม่ขึ้นแรงก็ ลงแรง
- และยังไม่แน่ใจว่าเคลื่อนที่ไปทิศทางไหน
- ให้ ซื้อ Call Options และ Put Options [เสียค่า Premium 2 ต่อ]
- ถ้าเป็นไปตามที่คาด เราก็จะได้กำไร แต่ต้องคำนวณดีดี
- ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาด เราจะเสียค่า Premium 2 ต่อ
- เพราะ ข้างหนึ่งจะเสียค่า Premium แต่กำไรอีกข่างหนึ่งจะ ทบค่า Premium หรือเปล่า

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
-

Tfex Options : TFEX EASY : EP1 [Youtube]

Tfex Options : TFEX EASY : EP1 [Youtube]

-----------------------------------------------------------------------------------
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=GzwMZJR0AOA
ตอนที่ 1 : รู้จักกับ Options
Options คือ
- สัญญาสิทธิล่วงหน้า ให้สิทธิกับผู้ซื้อ Options มีสิทธิซื้อ หรือขาย สินทรัพย์ในอนาคต
ตามจำนวน ราคา และเวลาที่ได้ตกลงกันไว้ตามสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
- ในตลาดมีทั้งผู้ซื้อแล้วผู้ขาย
- เวลาซื้อ ขาย เราไม่จำเป็นต้องจ่ายเงินทั้งหมด
- เราจ่ายเพียง ค่าจองสิทธิ์ หรือ เรียกว่าค่า Premium

ค่า Premium คือ
- คล้ายๆ ค่ามัดจำในการจองสิทธิ์ซื้อขาย
- เราต้องจ่ายเพื่อให้เรามีสิทธิในการซื้อขาย

ผู้ซื้อ และผู้ขายต่างกัน ?
ผู้ซื้อ
- สามารถเลือกใช้สิทธิหรือ ไม่ก็ได้
-- ถ้าเราได้กำไร >> เราจะใช้สิทธิ
-- ถ้าเราขายทุน >> เราไม่ใช้สิทธิ >> เราเสียค่า Premium
ผู้ขาย
- ต้องยอมรับที่ทำตามเงื่อนไขที่ยอมรับแต่แรก
- เมื่อทำสัญญา จะได้รับเงินค่า Premium จากการขายสิทธิ
- เมื่อถึงเวลาครบสัญญา ผู้ซื้อไม่มาใช้สิทธิ >> จะได้รับค่า Premium และของคืน
** สามารถขาดทุนได้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย

ความน่าสนใจ
- เป็นทางเลือกที่สามารถสร้างผลกำไรได้ในอนาคต
- ควบคุมการขาดทุนได้สูงสุดในค่า Premium นั้น

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://www.youtube.com/watch?v=ebEyMNwv7Ds
ตอนที่ 2 : รู้จักกับ SET50 Index Options
Set 50
- ดัชนีราคาหุ้น 50 ตัว >> ตลาดหลักทรัพย์คัดเลือกมาจาก >> มูลค่าสูง สภาพคล่องสูง

Options มี 2 ประเภท
- Call Options >> สัญญาสิทธิ เพื่อซื้อดัชนี Set50 ณ ราคาวันนี้ (แทงขึ้น)
-- สามารถใช้สิทธิในอนาคต ตามระยะเวลา และเงือนไขที่ตกลงกันไว้
-- ผู้ซื้อ ชำระค่า Premium เพื่อ ซื้อ Call Options
- เมื่อถึงวันที่ใช้สิทธิ ถ้าราคา ขึ้นสูงกว่าราคาใช้สิทธิ (Price + Premium) จะสามารถทำกำไรได้
- ถ้าวันใช้สิทธิ ราคาไม่เคลื่อน เราจะขาดทุนสูงสุดคือ ค่า Premium

- Put Options >> สัญญาสิทธิ เพื่อขายดัชนี Set50 ณ ราคาวันนี้ (แทงลง)
-- เพื่อใช้สิทธิในราคาที่ตกลงในอนาคต
-- ผู้ซื้อชำระค่า Premium เหมือนกัน >> แต่ผลที่ได้ตะตรงข้าม Call Options (แทงลง)
- กำไรก็ต่อเมื่อราคา ราคาลง (Price + Premium) ถึงกำไร
- ราคาไม่ลงตาม จะเสียแค่ค่า Premium

## ถ้าคือว่าจะขึ้น ให้ซื้อ Call Options ถ้าคิดว่าลง ให้ซื้อ Put Options
- ถ้าถึงวันใช้สิทธิราคาไม่เป็นไปตามคาด ปล่อยให้ Options หมดอายุ (เสียค่า Premium)

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://www.youtube.com/watch?v=tRz0avXLwQQ
ตอนที่ 3 : ชื่อย่อของ SET50 Options
ชือย่อ Options
- ช่วยให้สะดวกในการเรียก และส่งคำสั่ง Options ไปยังระบบคอมพิวเตอร์ได้ง่าย
- เปรียบเสมือน บาร์โคด ที่เราพบเห็นกันบ่อยๆ

แบ่งเป็น 4 ส่วน
1. ตัวย่อของสินค้าอ้างอิง S50 คือ ดัชนี SET50

2. รายละเอียดของ เดือนและ ปีที่ครบกำหนด Options สัญญา Options
- ตัวอักษรตัวแรกคือ เดือน
แต่ละเดือนมีตัวย่อ
F = มกราคม
G = กุมภาพันธ์
H = มีนาคม
J = เมษายน
K = พฤษภาคม
M = มิถุนายน
N = กรกฎาคม
Q = สิงหาคม
U = กันยายน
V = ตุลาคม
X = พฤศจิกายน
Z = ธันวาคม
- ตัวเลข 2 ตัวคือปีที่ครบกำหนด Options
Ex U13 หมายความว่า สัญญาจะหมด เดือนกันยายน ปี 2013
* ผู้ซื้อ Options สามารถเลือก วันครบกำหนดสัญญาได้ 4 รูปแบบ
- 1 เดือน ,2 เดือน ,3 เดือน ,6 เดือน

3. ประเภทของ Options มีอยู่ 2 ประเภท
C = Call สิทธิในการซื้อ
P = Put สิทธิในการขาย

4. ราคามใช้สิทธิ
- มีความต่างราคาที่ 5 ระดับ แต่ละระดับมีความต่างกัน 25 จุด

เพราะฉะนั้น S50 U13 C 800
= SET50 หมดอายุเดือนกันยายน ปี2013 Call Options ที่ราคาใช้สิทธิ 800
- จะได้กำไร ก็ต่อเมื่อราคา ซื้อ และราคาสูงกว่า 800 จุด

-----------------------------------------------------------------------------------
Link : https://www.youtube.com/watch?v=LVxp0J-buB4
ตอนที่ 4 : ราคาใช้สิทธิ Strike Price
ราคาใช้สิทธิ (Strike Price)
- ราคาที่ผู้ซื้อ Options สามารถซื้อหรือขาย สินค้าอ้างอิง ตามที่ตกลงไว้กับผู้ขาย ในวันที่ครบอายุ
- มีความสำคัญต่อผลกำไรผู้ที่ซื้อ Options
- ในวันที่ครบกำหนด ราคาของ Options ผู้ซื้อได้กำไรหรือ ไม่ ขึ้นอยู่กับการเคลื่อน ดัชนี Set50
(จะกำไรก็ต่อเมื่อ ขึ้นหรือลง มากกว่า Price + Premium)
- Options มีราคาใช้สิทธิที่แตกต่างกัน

- ราคาใช้สิทธิที่หลายระดับราคา >> เพื่อให้ผู้ลงทุน เลือกซื้อขายได้ตรงตามความต้องการมากที่สุด
- โดย ขณะนั้น จะมีราคาใช้สิทธิที่แตกต่างกัน อย่างน้อย 5 ระดับดัชนี และต่างกัน 25 จุด

ราคาใช้สิทธิ แบ่งเป็น 3 แบบ
1. ATM [At- The -Money Options]
- ราคาใช้สิทธิที่ใกล้เคียงกับราคาดัชนีในปัจจุบัน (ถ้าใช้สิทธิในวันนี้จะยังไม่ได้กำไร และก็ไม่ขาดทุน)

2. ITM [In-The-Money Options]
- ราคาที่หากใช้สิทธิในวันนี้ จะได้กำไรจากการใช้สิทธิ

3. OTM [Out-Of-The-Money Options]
- ราคาที่หากมีการใช้สิทธิในวันนี้ จะไม่ได้กำไร

Ex  ถ้าเรา Call Options (แทงขึ้น) เปรียบเทียบ Set50 ที่ราคา 805 จุด
- ที่ราคา 750 , 775 จะเรียกว่า ITM (มีราคาใช้สิทธิต่ำกว่าที่เราซื้อ) >> เราใช้สิทธิ เราได้กำไร
- ที่ราคา 800 (มี 1 ราคา) จะเรียกว่า ATM (ราคาใช้สิทธิใกล้เคียงปัจจุบัน)
- ที่ราคา 825 , 850 จะเรียกว่า OTM เราซื้อขึ้น แต่ราคายังไม่ถึง (หากผู้ซื้อใช้สิทธิ แล้วยังไม่ได้กำไร)

Ex ถ้าเราซื้อ Put Options (แทงลง) เปรียบเทียบราคา Set50 ที่ราคา 805 จุด
- ที่ราคา 825 , 850 จะเรียกว่า ITM (มีราคาใช้สิทธิ สูงกว่าที่เราซื้อ) >> เราใช้สิทธิเราได้กำไร
- ที่ราคา 800 (มี 1 ราคา) จะเรียกว่า ATM (ราคาใช้สิทธิใกล้เคียงปัจจุบัน)
 - ที่ราคา 750 , 775 จะเรียกว่า OTM เราใช้สิทธิยังไม่ได้กำไร (แทงลง ราคายังไม่ถึง)
# ได้กำไรเมื่อใช้สิทธิที่เป็น ITM [In - The - Money Options]

ปกติ ราคา Options ที่เป็น ITM จะมีราคาสูงกว่า OTM
- เพราะโอกาสทำกำไร ITM มีมากกว่า
- ซื้อที่ ITM จะซื้อแพง เพราะมันบวกกำไรไปด้วย
- ถ้าซื้อที่ OTM คือ ราคาที่ยังไม่มีกำไร
ดังนั้น ITM จึงแพงกว่า OTM

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
-

Tfex Options : ก้าวแรกสู่ Options : EP 1

ก้าวแรกสู่ Options โดยพี่ต้าน
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=luKdSaeDz6o

-----------------------------------------------------------------------------------
Options
- เปรียบเหมือน การซื้อประกัน
Call Options >> ประกันว่ามันจะขึ้น
Put Options >> ประกันมันจะลง

Sticke price >> ราคาที่ประกัน
Ex มีการ Call Options ที่ ราคา 980 >> เราต้องติดต่อคนขายประกัน >> คนขายประกันก็จะหาคนที่ขาย
>> ว่ามีคนขายราคาเท่าไหร่บ้าน (ไม่มีคนขายที่ราคา 980 พอดี) >> ค่าที่เพิ่มขึ้นมาเรียกว่า
"Premium" >> มองเป็น Point [จะเข้าใจมากขึ้น]
Ex - สมมุติว่า  Call Options ที่ราคา 980 ค่า Premium 20 จุด >> ราคาต้องขึ้นมากกว่า 1000 จุด
>> ถึงจะได้กำไร
Ex - การที่เราซื้อ Call Options ที่ราคา Sticke Price 980 ไม่ได้หมายความว่า ที่ 980 เราจะได้กำไร
>> เราต้องไปเครมประกันที่มากกว่า 1000 จุดเป็นต้นไป

Time Value
- การซื้อประกัน ต้องมีเวลาในการรับประกัน
Ex กรมมะทันรถยนต์ มีเวลา 1 ปี
- แต่ Options ส่วนมากมีเวลา 3 เดือน อยู่ที่ถ้าหมดเราจะต่อใหม่หรือเปล่า ?

- การจะซื้อ Options แต่ละครั้งเราต้องคำนวณด้วยว่ามันจะไปถึงไหม ?
- การซื้อ Options คือการซื้อนาคต
- Optinos เปรียบเหมือนประกัน >> เวลามีประกัน จะไม่ค่อยเกิดหลอก
- คนซื้อ Option โอกาศได้ เครมจะน้อย
-- เราเป็นฝั่ง Buy >> เพราะฝั่งรับทำมักคิดไว้หมดแล้ว

-----------------------------------------------------------------------------------
ที่่มาของ Options
- การซื้อ Future แล้วตั้ง Stop Loss เปรียบเหมือนการซื่อ Options
- การโดน Stop out Options ก็เปรียบเหมือนการหมดอายุของ Stop loss Future
-- เวลาซื่อจะมีจุด ซื้อ และจุด Stop Loss
Ex ซื้อ Long ที่ 900 และ Stop Loss ที่ 850 = เรามี Buffer ในการ Stop loss 50 จุด >>
เขาคำนวณเวลามาแล้ว ว่า 50 จุดนี้ใช้เวลาเท่าไหร่ >> จึงเป็นที่มาของ Time Value
>> สมมุติโอกาสหมดโดน Stop loss ใช้เวลา 4 เดือน >> เขาจึงคิดให้เวลา Time Value เป็น 3 เดือน

-----------------------------------------------------------------------------------
Fund จะซื้อ Options เมื่อไหร่
1. เมื่อเราเริ่มมีกำไรในพอร์ตจากการลงทุนปกติ
-- ส่วนมากจะไม่ใช้ทุนในการ ซื้อ Option >> มันไม่ต่างจากที่เราไปเข้าบ่อน
-- เหมือนเราไปแทง แต่เราไปเสียค่า Premium
-- เล่นในระยายาว จิตใจเราจะแย่ลงเรื่อยๆ

2. ตลาดต้องมีความผันผวนสูง
-- เพราะถ้าผันผวนไม่สูง ซื้อไปก็โดน ประกันกิน (ราคาไม่ถึง)
--- ให้เราฝึกดู ATR
-- มอง ATR เหมือนหุ้น
-- ATR มีคุณสมบัติอย่างหนึ่งคือ มันมี Loop
** อยากเทรด Options ต้องเก่ง ATR ถ้าเราไม่เก่ง โอกาสโดนกินสูง
-- Options Trader ในเมกา เขาเทรด ATR ซื้อ ATR ขาย ATR
-- ATR เป็นตัวแทนของ Volatility  >>  จะปั้น ATR ต้องใช้เงินมหาศาล
-- แรงจูงใจในการปั้น ATR มีน้อยกว่าหุ้น >> ปั้นหุ้นได้เงิน ปั้น ATR ได้เงินน้อย
-- การใช้ Loop ATR
--- จุดที่ต่ำ แนวรับ เขาจะเริ่มซื้อ ต่อให้ลงก็ไม่เป็นไร เพราะเป็น Time Value
--- ถ้า ATR ขึ้นมีโอกาส Pay off สูง
-- ปัญหาของ ATR ข้อเสียคือ มันไม่บอกทิศทาง ไม่บอกขึ้นหรือลง
--- แต่มันบอก โอกาสมี Revers สูง (ราคาต่ำ โอกาสขึ้น , ราคาสูง โอกาสลง)

Trader Option คือ Trader ที่เล่นกับ โอกาส

* เราจะซื้อ Options ก็ต่อเมื่อมันมีการ Pay off สูงเท่านั้น
- ถ้าจะซื้อหากปัจจุบัน ราคา 1000 เราต้องมองมันไป 1500 >> ให้มันคุ้มที่เราจ่าย
- เพราะมันต้องคุ้มค่า Premium
- R : R = 1 : 1 เรามักตาย

-----------------------------------------------------------------------------------
Model ฝั่ง Sell size
- หนังสือเขียนฝั่ง Buy Size ดี เพราะต้องการให้มัน Match กัน
-- หนังสือที่ว่า ก็พวก TA  ต่างๆนานา
-- เรามักเชื่อ หนังสือมากกว่า ผู้เล่นรายใหญ่ เพราะมัน Make Sense กว่า

- ก่อนทำ Sell size เราต้อง
-- เราต้องมีหุ้นฟรี
--- จากระบบ ปิด KZM (ที่ลงทุนใน ETF เพราะว่า มูลค่าไม่เป็น 0)
* หุ้นไม่สามารถ Predict ราคาได้ แต่เงินเราสามารถ Predict ได้

-----------------------------------------------------------------------------------
TA
- Stop Loss คือจุดที่กะรัตตรี Volume
- จุดที่การันตรี มันเป็นจุด แนวรับแนวต้าน
Ex หากมีคนต้องการของ เขาก็จะมองจุดนี้เป็นจุดเก็บของ >> ราคามักลงไป Stop Loss แล้วเด้งขึ้น
- ใครตั้งจุด ต่ำสุด สูงสุด ส่วนมากจากโดนแน่นอน
Ex มีคนต้องการ 1000 ชิ้น แต่บริษัทมีอยู่ 300 เขาจะเท 300 ทั้งหมด เพื่อเก็บ 1000 มักเกิดช่วงหลับ
>> ส่วนมาก 300 ที่เท เขาไม่ค่อยเครียด เพราะมันเป็น หุ้นที่ ฟรี แล้ว เอารายได้ทางอื่นมาซื้อ ไม่มีต้นทุน

- ข้อจำกัดของ TA คือ linner >> มันไม่สามารถ Predict เหตุการณ์ได้
-- มันสามารถเป็นสมการได้ >> linner เป็น Logic มีความน่าเชื่อถือ >> Makesence
-- มันคือ ระบบตัวหนึ่งเท่านั้น Control ได้
-- มันสามารถคาดการณ์ได้ช่วงหนึ่ง แต่ไม่ทั้งหมด
* เราต้องรู้ข้อจำกัดของมันก่อน
- แต่ตลากหุ้นเป็น Non-linner >> ไม่สามารถทำเป็นสมการได้

- TA ตอบสนองสิ่งที่ไม่รู้ (อนาคต)
- คนเราอยากรู้อนาคต >> TA เลยสามารถขายได้เรื่อยๆ

- TA เอาไว้สามารถดูได้ว่า คนคิดยังไง
- ในรายใหญ่เขาเอาไว้สร้าง Value

- TA ใช้ได้ แต่เราต้องรู้จักใช้
- เพราะยังมีคนที่มี Effect ในตลาด
- การดู TA เราต้องดูต้นเหตุที่เกิด

- จังหวะที่เหมาะสุดในการซื้อ Options คือช่วงที่ TA ใช้ได้ดี
- ถ้าราคาวิ่งตาม TA มันจะอยู่ไม่ได้นาน
- ส่วนมากถ้าอยู่ในจังหวะนี้ สถาบันจะเริ่มถอย เริ่มตั้งรับ

-----------------------------------------------------------------------------------
วิธีปั้นหุ้น
Ex บริษัท A มีหุ้น 100,000 หุ้น ถือ Major share 500,000 หุ้น อยู่ในตลาด 500,000 หุ้น
ราคาในตลาด 5 บาท MK = 5,000,000
- เขาสามารถซื้อหุ้น 250,000 เพื่อปั้นราคาได้ (เขาเก็บช่วง 5 - 10) และไปปล่อยที่ 10 บ.
- เขาสามารถได้ TA ในการสร้างกราฟได้
- บางทีเขาได้ นอมินีมาเปิด พอร์ต
- อย่าไปดู Bid Offer มาก เพราะบางทีกด Cancel มันก็ถอนออกหละ

* การใช้ TA เราต้องดู Volume ด้วยว่าเขาสามารถปล่อยของได้ไหม
- ถ้า Volume น้อย เขาไม่สามารถปล่อยได้

-----------------------------------------------------------------------------------
พื้นฐานก่อนจะทำการซื้อ Future , Options
C - P = F
C = Call Options , P = Put Options , F = Future
- ก่อนใช้สมการเราต้องเข้าในก่อนว่าเราอยากทำอะไร กับตลาด (เราอยาก ซื้อ หรือเราอยากขาย)
Ex ถ้าเราอยากซื้อ Future >> ที่ 1000 จุด >> เราต้องไปกู Call , Put Options Sticke Price 1000 จุด
-- Sticke Price = 1000 ,Call Options = 20 , Put Options = 25 >>> 1000 + 20 - 25 = 995
-- ปกติ C - P = F แต่หลังจากลบกัน แล้ว จะ 995 = 1000
-- ถ้าเราอยาก ซื้อ 1000 Future อยู่ แล้ว >> แต่ถ้าเรา ซื้อ Call ขาย Put จะได้ 995 ซื่งถูกกว่า 5 จุด

ถ้าอยากซื้อ Call Options
C = F + P
-- ตลาดบ้านเราชอบมี Discount แบบ บ้าๆ >> บางที่ Future Discount แบบบ้าๆ F ต่ำ + P แล้ว
>> อาจได้ราคาถูกกว่า C
Ex เราอยากซื้อ F ที่ 1000 แต่ มัน Discount ที่ 990 >> 20 = (990 - 1000) + 25 >> 20 = 15
หมายความว่า ถ้าเราซื้อ Future ซื้อ Put เราจะได้ :: Call Options ที่ถูกกว่าตรงนั้น
** แต่เราอยากต้องอยากได้ Call Options

- ตลาดไทยไม่มีเสน่ห์อย่างหนึ่ง คือไม่มีสภาพคล่อง >> ตลาดบ้านเราไร้เหตุผลบ่อย
- สมการนี้ได้ประโยชน์มากตอนตลาด Panic

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
-

MudleyGroup : Crypto : EP1

Crypto [1]
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=-syPeODpGxM

-----------------------------------------------------------------------------------
Crypto
- วันหนึ่งที่เราสร้าง Close System >> แล้วมี Cash Flow >> เราก็จะไม่กังวลหละ
>> จากนั้นเราจะนำ Cash Flow มา Scalping
- การทำ Scalping คือการทำที่แตกต่าง จากตัวหลัก [Close system]
- การ Scalping ไม่ใช้เป็นการลงทุนแล้วเรามาตั้ง Stop loss
- เราต้องหลุดจาก Price base ให้ได้

กระบวนในการ Scalping
- เราต้องการได้ Return ที่สูงขึ้น
-- ถ้าเราเป็น Price base เราก็จะใช้ Stop loss โดยใช้ leveage
-- Price base Stop loss โดย Price
--- มันจะเกิดการ Stop loss ง่าย
-- Price base เรามักจะคิดว่า Stop loss คือวิธีเดียว
# มนุษย์จะอยู่ใน Loop นี้นานหน่อย
- ถ้าเราลด Leveage เราต้องเพิ่ม Volatility
Ex Lv 1000 เท่า เทรดใน Product 5 % กับ Lv 100 เทรดใน Product 10%
- เราต้องทำให้ การ Scalping Return กับ Stop loss ยาก [มันคือต้นเหตุการเสีย]
## พี่ต้าน Stop Loss ที่ Product [Product พัง] >> มากกว่า Stop Loss ที่ ราคา
- อยากได้ Return สูง >> Volatility ต้องสูง มันสามารถลด Leveage

- พี่ต้านไม่ได้ชอบ Crypto แต่เนื่องจาก Volatility สูง และ Time เยอะ
-- Time สูง
--- เราจะได้รับ Exp เยอะตาม 24 / 7
--- เราสามารถเก็บระยะได้เยอะขึ้น
* แต่เราต้องเอากำไรจาก Close system มา
--- เราจะได้เปรียบจากคนที่ ไม่เก่ง [มันเป็นการแข่งแบบ มอลาทอน (ความอึด)]
-- Volatility สูง
--- ความเสี่ยงสูง >> Return สูง
--- ถ้าโดน Stop loss ยาก ก็จะได้ Return สูงตามไปด้วย
** วัตถุประสงค์ของการเกร็งกำไร คือ การทำกำไรสูงขึ้น

- เป็น Trader บางทีเราไม่ได้สนใจว่าสินค้าขึ้นหรือลง เราสนใจว่ามันมี Volatility

- เราต้องนำ Cash Flow มาเกร็งกำไร >> วิธีการเกร็งกำไรก็คือ วางกลยุทธ์
Ex Time Base ได้เงินวันละ 100 เหรียญ แบ่งยิงวันละ 50 เหรียญ ยิงทุกวันวันละ 2 นัด
- ในแต่ละวัน เราสามารถทำ Risk Parameter ของแต่ละวันได้
- ถ้าเรามีเงินน้อย ก็เทรดวันละน้อยๆ

-----------------------------------------------------------------------------------
Q : เพราะอะไร Product ถึงเกิด Trend ?
A : เพราะความเชื่อ ความเชื่อเกิดขึ้นเยอะทำให้ Supply ในระยะสั่นหายไป

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
- 0002 : MudleyGroup - ระบบทุนนิยม :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/10/0000-etc.html
- 0004 : MudleyGroup - กลยุทธ์ และจุดอ่อน :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/11/0004-mudleygroup.html
- 0006 : MudleyGroup - Hedge Fund Manager 001 :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/11/0006-mudleygroup-hedge-fund-manager-001.html
- 0008 : MudleyGroup - Hedge Fund Manager 002 :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0008-mudleygroup-hedge-fund-manager-002.html
- 0009 : MudleyGroup - Trader ยุคใหม่ และโอกาส
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0009-mudleygroup-trader.html
- 0010 : MudleyGroup - เฉลย ข้อสอบกลางภาค 2016
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0010-mudleygroup-2016.html
- 0011 : MudleyGroup - Dark Side Begin
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/04/0011-mudleygroup-dark-side-begin.html
- 0012 : MudleyGroup - Energy Management [0]
https://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0012-mudleygroup-energy-management-1.html
- 0013 : MudleyGroup - Live From Russia 1
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0013-mudleygroup-live-from-russia-1.html
- 0014 : MudleyGroup - Energy Management [1]
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0014-mudleygroup-energy-management-1.html
- 0015 : MudleyGroup - Energy Management [2]
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0015-mudleygroup-energy-management-2.html
- 0016 : MudleyGroup - Energy Management [3]
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0016-mudleygroup-energy-management-3.html
- 0019 : MudleyGroup - Zone , Barchart
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0019-mudleygroup-zone-barchart.html
- 0020 : MudleyGroup - Macro Mindset
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0020-mudleygroup-macro-mindset.html

Stock : การอ่านงบการเงิน [สรุป] : EP16

การอ่านงบการเงิน [สรุป]
สรุปภาพรวมจาก : http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/04/0030-thai-stock-15.html

--------------------------------------------------------------------------
งบดุล

--------------------------------------------------------------------------
งบกำไร ขาดทุน


--------------------------------------------------------------------------
งบกระแสเงินสด


--------------------------------------------------------------------------
สรุปทั้งหมด



--------------------------------------------------------------------------

MudleyGroup : Mudley Live Skill score : EP9

Mudley Live Skill score
สรุปความรู้ที่ได้จาก
Link : https://www.youtube.com/watch?v=247E6NjW-cs

-----------------------------------------------------------------------------------


Skill Point
- มีที่มาจากเมกา
-- มีหลายชื่อ แล้วแต่สถานที่ แต่ละที่ บางที่อาจเรียก การบริหารเวลา

- แบ่งเป็น 3 วง
-- Primary Skill เป็นสกิวหลัก [Core Skill]
--- ทักษะหลักที่เราอยากจะเก่ง หรือเป้าหมายหลักในชีวิตของเรา >>  เราจำเป็นต้องเขียน
--- การจะมี  Primary Skill เราต้องมีเป้าหมายก่อน [Goals] ว่าเราจะไปทางไหน
--- ถ้าเรามี เป้าหมายหลายอย่างเราต้องแบ่ง Primary Skill เป็นการฝึกหลายๆอย่าง
---- มันจะทำให้ยากขึ้น แต่ยังไงก็ขึ้นอยู่กับการจัดสรรเวลา [อาจไปรบกวนเวลาหลับ]
--- เมื่อเรารู้เป้าหมาย เราก็จะต้องพัฒนาวางแผนสิ่งที่จะเรียนรู้ เพื่อให้เป้าหมายสำเร็จ
Ex ถ้าเรากินเหล้า เราแฮ้งเราตื่นไม่ไหว จะส่งผลกระทบ Skill Pointในอะไรหลายๆอย่าง
# คนเราจะพัฒนาได้มันอยู่ที่การฝึกฝน >> และมันจะออกเป็นรูปร่างชัดเจนมาก
Ex สังเกตุ ฝรั่งเวลามันเจอ มันจะมุ่งไปทางนั้น มันเลยไปได้เร็ว
--- คนเจอเร็วยิ่งได้เปรียบ
--- ในเมกาคน เจอเร็วได้เปรียบ เพราะว่า มัน ช่วยเหลือทุกอย่าง [ทำระเบิด ปืน]
# ถ้าเราอยากเป็นคนเก่ง หนีไม่พ้นเรื่องการจัดการจัดสรรค์
>> เราไม่สามารถทำทุกอย่างได้ >> และเราก็จะเป็นเป็ดจริงๆ เราต้องยอมรับ
>> บางคนมีปัญหาเพราะเราไม่ยอมรับ เป็นอีกสาย อยากเป็นอีกสาย
--- การฝึก Primary Skill  หนีไม่พ้น ทางร่างกาย และจิตใจ
>> เพราะ แต่ละคนมีสมาธิไม่เท่ากัน >> ถ้าจะเป็นมืออาชีพ เราต้องฝึก
--- ถ้าไม่คิดจริงจังแต่แรก ให้เลือกเป็นงานอดิเรกเถอะ !!
Ex ถ้าอยากเป็นนักกีฬามืออาชีพ จ่ายแค่ 8 Point อย่าเป็น เพราะคนอื่น เขาจ่ายมากกว่านี้
--- บางทีเราอาจ Win แค่ 2 - 3 เกมส์ แต่ไม่สามรถชนะตลอด
--- ในรัซเสียบอกว่า ถ้าเราใช้ 8 Point ต่อวัน เราไม่สามารถเป็นมืออาชีพได้
--- มาตราฐานที่เราสามารถเอาตัวรอดได้ อยู่ที่ 10 ปี เร็วสุด 7 ปี

- ข้อดีของชีวิต คือเราสามารถออกแบบ ชีวิตเราได้ แต่เราต้องรับผลของการออกแบบเรา
-- ถ้าเราเลือกไปแล้ว มันต้องมีสิ่งที่สูญเสียแน่นอน [ต้องแลก]
-- เราไม่สามารถ Re Skill ได้

-- Secondary Skill
--- เป็นส่วน Support Primary Skill เป็นตัวเสริม
--- เป็นส่วนที่ทำให้คนแซงกันได้ 8 ชั่วโมง คนอื่นฝึกมาเหมือนกัน ตรงนี้จะเป็นส่วนที่ทำให้แซง
--- บางคนอาจใช้ ทิ้งขว้าง [ดู Youtube Facebook] มันอยู่ที่ความเชื่อของเรา
--- บางคนอาจเอาไปจ่ายในเวลาครอบครัว

-สังเกตุเวลาเราทำงาน เรามักกำหนดเวลาที่ 8 ชั่วโมง 9 ชั่วโมง
-- มันทำให้กินเวลาทักษะ หลัก เราจะสูญเสียไปวันละ 8 Point ไปเรื่อยๆ

- ในหนึ่งวันเราได้รับ Score Point วันละ 24 Point [ทุกคนได้เท่ากันต่อวัน]
# ดังนั้นความชำนาญต่อคน จะไม่เท่ากัน ตามระยะเวลา
- เวลาทุกนาทีจะทำให้คนเราแตกต่าง
- ถ้าเราไม่อัพสกิว >> ในวันรุ่งขึ้น Reset Skill Point ใหม่

- ใน 1 วันเวลาเราแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
-- อันดับแรกคือ พักผ่อน ฟื้นฟูร่างกาย หรือ Heal
--- บางคนอาจหลับ 6 ชั่วโมง Nap ชั่วโมงหนึ่ง ออกกำลังชั่วโมงหนึ่ง
-- ถ้าเรา Heal น้อย แลกกับชีวิตที่สั้นลง

-----------------------------------------------------------------------------------
จริงจัง ไม่ใช่เครียด
- คนไทยเวลามองคนอื่นจริงจัง มักมองเครียดด้วย
Ex อย่าไปเครียดหน่า
- ความเป็นจริงมันคนละส่วนกัน
- บางคนจริงจังแล้วมีความสุข
Ex นักดนตรี เล่นดนตรีจริงจัง แต่มีความสุข

-----------------------------------------------------------------------------------


-----------------------------------------------------------------------------------
Q : concept  money management คือ
A : - ซื้อของยังไงก็ได้ ไม่ให้เงินหมด
- เพราะเมื่อไหร่ที่เงินหมด นั้นคือเราต้อง Cut loss
- คิดถึงหลักการของร้านขายของชำ

Q : ประเทศเดียวที่ทำ QE แล้วเงินไม่อ่อน
A : - เพราะทำก่อน และกลายเป็นพระเอกทีหลัง
- จีนลดดอกเบี้ย เพื่อไม่ให้เงินทะลักเข้ามา ไม่อยากให้เงินกระดาษเงินที่พิมพ์ เข้ามา
- พอจีนลดดอก เงินไปเข้าตลาดหุ้น
- จีนลดค่าเงินหยวน เพื่อไม่อยากให้ค่าเงินแข็ง >> เพราะตอนนี้ เศษรกิจแย่อยู่
>> ถ้าเงินแข็ง
- เมื่อเงินไม่สามารถเข้าจีนได้ เงินก็ไหลเข้าตัวเอง >> มีการแลกเปลี่ยนเป็นของตัวเอง
>> ทำให้เงินสกุลตัวเอง เสถียร
- ถ้าเงินไหลเข้าประเทศไหน เงินแข็งแน่นอน

-----------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มเติม
- 0002 : MudleyGroup - ระบบทุนนิยม :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/10/0000-etc.html
- 0004 : MudleyGroup - กลยุทธ์ และจุดอ่อน :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/11/0004-mudleygroup.html
- 0006 : MudleyGroup - Hedge Fund Manager 001 :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/11/0006-mudleygroup-hedge-fund-manager-001.html
- 0008 : MudleyGroup - Hedge Fund Manager 002 :
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0008-mudleygroup-hedge-fund-manager-002.html
- 0009 : MudleyGroup - Trader ยุคใหม่ และโอกาส
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0009-mudleygroup-trader.html
- 0010 : MudleyGroup - เฉลย ข้อสอบกลางภาค 2016
http://yutaro-diary.blogspot.com/2017/12/0010-mudleygroup-2016.html
- 0011 : MudleyGroup - Dark Side Begin
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/04/0011-mudleygroup-dark-side-begin.html
- 0012 : MudleyGroup - Energy Management [0]
https://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0012-mudleygroup-energy-management-1.html
- 0013 : MudleyGroup - Live From Russia 1
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0013-mudleygroup-live-from-russia-1.html
- 0014 : MudleyGroup - Energy Management [1]
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0014-mudleygroup-energy-management-1.html
- 0015 : MudleyGroup - Energy Management [2]
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0015-mudleygroup-energy-management-2.html
- 0016 : MudleyGroup - Energy Management [3]
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0016-mudleygroup-energy-management-3.html
- 0019 : MudleyGroup - Zone , Barchart
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0019-mudleygroup-zone-barchart.html
- 0020 : MudleyGroup - Macro Mindset
http://yutaro-diary.blogspot.com/2018/05/0020-mudleygroup-macro-mindset.html

Mudley World : Start [Demo] : EP9

Mudley World - Start
-----------------------------------------------

- เทรด Mudley World เป็นการเทรดแบบ Block
- มีทั้งหมด 2 Block , Block ละ 4 นัด รวม 8 นัด
-----------------------------------------------
วิธีการเทรด
- เลือกคู่เงินเทรด
-- Bias Long ,Swap +
โบรคที่ใช้อ้างอิง คือ Pepperstone
------------------------------------------------ Block A
-- เลือกคู่เงิน ที่มีการ Buy โดย คู่เงินที่ Buy เป็นคนละ สกุล
-- Order 1 , 2 เปิดก่อน >> ถ้าลบมาก จะเปิด Order 3 , 4 ตามไป
# มีค่าเงินที่ Sell ร่วมกันคือ CHF ดังนั้นจึงเปิดพร้อมกันทั้งหมดไม่ได้

- Block B
-- เลือกคู่เงิน ที่มีการ Buy คนละ สกุลเพื่อไม่ให้ แต่ละคู่เงิน เกิดความสัมพันธ์กัน
-- เปิด ที ละ Order โดยไล่ลำดับ Order 1
-- เปิด Order 2 , 3 , 4  แก้ตามลำดับ

-----------------------------------------------
เริ่มเปิด Order
Block A

GBP / CHF
- สาเหตุที่เปิด Order
-- มองว่าข้างล่างคือ แนวรับ = เปิด Order เส้นสีแดง



- สาเหตุที่เปิด Order
-- มองว่าราคาทดสอบ แนวนี้บ่อยจากอดีต
-----------------------------------------------

Mudley World : Mudley World : EP8

สรุปความรู้พี่ๆที่ได้ไป Mudley  ที่ เชียงใหม่
บทที่ 8 :  Mudley World
Link 1 : https://medium.com/@kinyod/chapter7-fact-opinion-83bb32c7616a

--------------------------------------------------------------------------------
Mudley World

- การเทรดใน Mudley World จะมีการเพิ่ม Level
Level - Mudley World
Level 1
- ให้ Block Trade 2 Blocks 8 นัด
- เลือก Product แล้วห้ามเปลี่ยน
# Fix Product / Fix RP
- เมื่อเทรดครบ 10 Credit [1000 Pips] >> Up level เป็น Leve 2 >> ได้รับโบนัส 1 แต้ม
- โบนัสที่ได้ สามารถแลก กระสุนพิเศษ [Block Trade [4 นัด] หรือ Scalping 1 นัด]

Level 4
- จะได้ Bonus 6 แต้ม จะมี Block แบบใหม่ให้เลือก 2 แบบ
-- Block กระสุนขนาด 2 Unit ใช้แต้มโบนัส 2 แต้ม
-- Block กระสุนขนาด 3 Unit ใช้แต้มโบนัส 3 แต้ม
Ex - กระสุน 1 Unit เวลาเทรด 10 Pips ได้ 1 Credit
- กระสุน 2 Unit เวลาเทรด 10 Pips ได้ 2 Credit
- กระสุน 3 Unit เวลาเทรด 10 Pips ได้ 3 Credit

Bonus 6 แต้ม สามารถเลือก
-  Scalping 6 นัด หรือ
- Block แบบใหม่ 2 Unit ได้ 3 Block หรือ
- Block แบบใหม่ 3 Unit ได้ 2 Block หรือ
- ผสมกันตามกลยุทธ แต่ละคน

Level 5
- จะได้ Block Trading "Silver" 8 นัด Buy ได้อย่างเดียว

Level 6
- สามารถรับงาน Quest จาก Mudley หรือ Partner ได้
- จะได้รับเป็น Quest credit และจะโอนเป็น Wealth credit >> สามารถเปลี่ยนเป็น Mudley Coin ได้

--------------------------------------------------------------------------------
Q :
A :
--------------------------------------------------------------------------------
อ้างอิง
Link 1 : https://medium.com/@kinyod